فضل ايام عشر دي الحجة والأعمال الواردة فيها
ความประเสริฐของ 10 วันแรกเดือนฮัจญ์ รวมทั้งข้อปฎิบัติต่างๆ
ความประเสริฐของ 10 วันแรกเดือนฮัจญ์
فضل عشر دي الحجة
روى البخاري – رحمه الله – عن ابن عباس – رضي الله عنهما- أن النبي – صلى الله عليه وسلم
قال : "ما من أيام العمل الصالح فيها أحب إلى الله من هذه الأيام يعني أيام العشر قالوا: يا رسول الله ولا الجهاد في سبيل الله؟ قال ولا الجهاد في سبيل الله إلا رجل خرج بنفسه وماله ثم لم يرجع من ذلك بشيء "
ได้รายงานจากบันทึกหะดีษของอิหม่ามบุคคอรีย์(รอฮิมะฮุ้ลลอฮ) จากท่านอิบนิอับบาส รอฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่า ท่านรซูล กล่าวว่า :
“ ไม่มีวันใดที่การทำความดี จะเป็นที่รักยิ่งของอัลลอฮ์ มากไปกว่าการทำความดีในสิบวันนี้” ศอฮาบะห์ก็ถามว่า “ ไม่มีแม้กระทั่งการทำญิฮาดเพื่ออัลลอฮ์กระนั้นหรือ?” ท่านรซูล กล่าวว่า “ ไม่มีแม้กระทั่งการทำญิฮาดเพื่ออัลลอฮ์ นอกเสียจากชายคนหนึ่งที่ได้พาตัวเองและทรัพย์สินออกไปทำญิฮาดและไม่เหลือ อะไรกลับเลย” บันทึกโดยอัลบุคอรี , 2/457 (หะดีษ มัรฟูอ์เล่ารงจากท่านนบี)
وروى الإمام أحمد – رحمه الله – عن ابن عمر – رضي الله عنهما – عن النبي – صلى الله عليه وسلم – قال : " ما من أيام أعظم ولا أحب إلى الله العمل فيهن من هذه الأيام العشر فأكثروا فيهن من التهليل والتكبير والتحميد "
ไม่มีวันไหนที่จะยิ่งใหญ่ สูงสุดและเป็นที่รักชอบ ณ พระองค์ เท่ากับ สิบ วันแรกเดือน ฮัจญ์(ซุ้ลฮิจญะฮ์) ฉะนั้นพวกท่าน ทั้งหลายจงกล่าว ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮ์ อัลลอฮุอักบัร และอัลฮัมดุลิ้ลลาห์ ให้มากๆในวันวันเหล่านี้อิหม่ามอิบนุฮิบบาน(รอฮิมะฮุลลอฮ) ได้บันทึกไว้ใน ศอเหี๊ยะของท่าน เล่าโดยท่าน ญาบีร(รอฎิยัลลอฮุอันฮุ) จากท่านนบีกล่าวว่า
" وروى ابن حبان – رحمه الله – في صحيحه عن جابر- رضي الله عنه - عن النبي – صلى الله عليه وسلم – قال : " أفضل الأيام يوم عرفة
วันที่ประเสริฐคือ วันอะรอฟะฮ์ (วันที่บรรดาผู้ที่ประกอบพิธีฮัจญ์มารวมตัวกันที่ทุ่งอะรอฟะฮ์ ณ นครมักกะฮ์)
ข้อควร ปฎิบัติ ช่วงสิบวันแรก เดือนฮัจญ์ أنواع العمل في هذه العشر
1. การประกอบพิธีฮัจญ์หรือ อุมเราะห์ ท่านนบีกล่าวถึงความประเสริฐของเรื่องนี้ว่า
قوله – صلى الله عليه وسلم - :" العمرة إلى العمرة كفارة لما بينهما والحج المبرور ليس له جزاء إلا الجنة "
จากอุมเราะห์หนึ่งไปอีกอุมเราะห์หนึ่ง เป็นการล้างปาบที่กระทำมา และการทำฮัจญ์ที่สมบูรณ์ ถูกต้อง ผลตอบแทนของมันคือ สววรค์เท่านั้น
2. ควรถือศีลอดให้มากๆ หากสะดวกวันไหนก็ได้อยู่ในช่วง สิบวันแรกของเดือนฮัจญ์ ให้เลือกถือศีลอด โดยเฉพราะวัน อะรอฟะฮ์ เพราะการถือ ศีลอดเป็นอิบาดะห์ ชนิดเดี่ยวที่พระองค์อัลลอฮ จะตอบแทนด้วนตัวของพระองค์เอง จากท่านอบู สะอิ๊ด อัลคุดรีย์(รอฎิยัลลอฮุอันฮุมา) ท่านนบีกล่าวว่า
وعن أبي سعيد الخدري- رضي الله عنه – قال : قال رسول الله – صلى الله عليه وسلم- : " ما من عبد يصوم يوماً في سبيل الله إلا باعد الله بذلك اليوم وجهه عن النار سبعين خريفاً"
متفق عليه
ไม่มีบ่าวผู้ใดที่ถือศีลอด วันหนึ่งเพื่อหวังในหนทางของอัลลอฮ นอกเสียจากว่าพระองค์อัลลอฮ จะทรงให้ใบหน้าของเขา ออกห่างจากไฟนรก ถึง 70 ปี(โดยบุคคอรี และ มุสลิม)
อีกหะดีษหนึ่ง บันทึกโดยอีหม่ามมุสลิม จากท่าน กอตาดะห์ ท่านนบีกล่าวว่า
وروى مسلم – رحمه الله – عن أبي قتادة عن النبي – صلى الله عليه وسلم – قال : " صيام يوم عرفة احتسب على الله أن يكفر السنة التي قبله والتي بعده"
การถือศีลอดในวันอารอฟะห์ ฉันหวังต่ออัลลอฮ์ในการที่พระองค์จะลบล้าางความผิดบาปในปีก่อนหน้านี้และปีหลังจากนี้
3. ควรตักบีรให้มากๆในช่วง สิบวันแรก ซุ้ลฮิจญะห์ อัลลอฮ ซุบฮานะฮู วะตะอาลา ตรัสว่า
لقوله – تعالى- :" ويذكروا اسم الله في أيام معلومات "
และให้พวกเขารำลึกถึง พระนามของอัลลอฮไว้ให้มากๆในวันดังกล่าวนักวิชาการให้ความหมายดังกล่าว คือช่วง สิบวันแรก เดือน ซุลฮิจญะห์ โดยนำหลักฐานยืนยันจาก หะดีษ ของท่าน อิบนุ อุมัร บันทึก โดยอิหม่ามอะห์หมัด(รอฮิมะฮุ้ลลอฮ)ในเรื่องดังกล่าวท่านนบีกล่าวว่า
لحديث ابن عمر – رضي الله عنهما- عن أحمد – رحمه الله – وفيه " فأكثروا فيهن من التهليل والتكبير والتحميد"
จงกล่าวคำตักบีรและ ลาอิลาฮ่า อิลลัลลอฮุ และอัลฮัมดุ ลิลลา ให้มากๆในช่วงแรก สิบวันของเดือนฮัจญ์
นอกจากนี้ อิหม่าม บุคอรี ได้บันทึกไว้ใน ศอเฮี้ย ของท่านว่า
وذكر البخاري – رحمه الله – عن ابن عمر وعن أبي هريرة – رضي الله عنهم – أنهما كانا يخرجان إلى السوق في العشر، فيكبرون ويكبر الناس بتكبيرهما
เมื่ออย่างเช้า สิบวันแรกเดือนฮัจญ์ ท่านอิบนุอุมัร และท่านอบู ฮุร็อยรอฮ ท่านทั้งสองจะออกไปตลาด เพื่อสอนคนกล่าวตักบีร ประชาชาชนในตลาดก็จะกล่าวตักบีร ตามท่านทั้งสองและยังมีรายงานจากท่านอิสฮากบินรอฮะวีย์ จากการปฎิบัติของเหล่านักฟิกฮฺ(นักกฎหมาย) ชาวตาบีอีน (กลุ่มชนที่ทันพบปะ กับศอฮาบะห์) พวกเขาจะพากันตักบีร ในช่วง สิบวันแรกเดือน ฮัจญ์ โดยกล่าวว่า อัลลอฮุอักบัร อัลลอฮุอักบัร ลาอิลาฮะอิลลัลลอฮุ วัลลอฮุ อักบัร อัลลอฮุอักบัร วะลิ้ลลา ลิ้ลฮัม และชอบให้เปร่งเสียง(มุสตะฮับ) ตามท้องตลาด บนถนน ในบ้านเรือน ในมัสยิด และที่อื่นๆเป็นต้น
อัลลอฮตรัสว่า
لقوله – تعالى-: " ولتكبروا الله على ما هداكم "
และสู้เจ้าจงกล่าวคำตักบีรต่อสิ่งที่อัลลอฮได้นำทางสู้เจ้าเถิด
ไม่อนุญาติให้กล่าวตักบีรในรูปญะมาอะห์(เป็นคณะ)โดยกล่าวเป็นเสียงเดียวกัน ซึ่งรูปแบบดังกล่าวไม่ปรากฎการกระทำ เช่นนี้มาก่อนจากมวลสลัฟ(บรรพชนยุคแรก) แต่ให้กล่าวของใครของมัน แต่ผู้ที่อ่านไม่เป็นก็ให้นำมาสอนอ่านได้
4. ให้เตาบะห์(ขอลุกะโทษ) ออกห่างจากความชั่วเยอะๆ เพื่อที่จะได้รับความเมตตาและการอภัยโทษจากอัลลอฮ์ การประกอบคุณงามความดี เป็นเหตุให้ได้รับความใกล้ชิดระหว่างบ่าวกับพระองค์ และเพิ่มความรักให้กับตัวเอง ณ ที่อัลลอฮ เล่าจาก อบูฮุร็อยลอฮ รอฎิยัลลอฮุอันฮุ ท่านนบีกล่าวว่า
الحديث عن أبي هريرة – رضي الله عنه – أن النبي – صلى الله عليه وسلم – قال :" إن الله يغار وغيرة الله أن يأتي المرء ما حرم الله عليه " متفق عليه
แน่แท้อัลลอฮ์ทรงหึงหวง(การหึงหวงไม่เหมือนการหึงหวงของมนุษย์) และการหึงหวงของพระองค์ คือการที่บ่าวมาทำในสิ่งที่พระองค์ทรงห้ามต่อเขา(โดย บุคคอรี และ มุสลิม)
5. ทำคุณงามความดีให้มากๆ นมาซซุนนะห์ให้เยอะๆ จ่ายศอดะกอฮ์ ทำสงคลามเพื่ออัลลอฮ์ (ญิฮาด) กำชับกันในเรื่องความดี ห้ามปรามกันในเรื่องความชั่ว เนื่องจากว่าคุณงามความดีในช่วง 10 วันแรกเดือนฮัจญ์ประเสริฐกว่าการทำสงคลาม หลั่งเลือดเพื่ออัลลอฮ์
6. มีข้อบัญญัติให้กล่าวตักบีร ทุกเวลา ในกลางวัน ในกลางคืน จนกระทั่งละหมาดอีดิ้ล อัฎฮา ส่วนผู้ที่ไม่ได้ไปประกอบ พิธี ฮัจญ์ ให้ตักบีรหลังละหมาดฟัรฎู ช่วงเช้าหลังละหมาด ฟัจร์(ซุบฮิ)วันอะรอฟะห์ ส่วนผู้ที่ประกอบพิธีฮัจญ์ ให้เริ่ม กล่าวหลัง นะมาซ ซุหริ(นมาซบ่าย) ของวันทำ อุฎฮียะห์(เชือดสัตย์ , เชือดกรุบาน) ไปจนถึง นมาซ อัสริ(เย็น) วันสุดท้ายของวันตัชรีก (หลังอีดสามวัน)ทั้งนี้รวมถึงผู้ที่ไม่ได้ไปประกอบพิธีฮัจญ์ ที่นครมักกะฮฺด้วย
7. ให้เชือดสัตว์ หลังวันอีดถือเป็นข้อบัญญัติและหลังจากอีด 3 วัน เพราะเป็นแบบฉบับของท่านนบี อิบรอฮีม (อะลัยฮิสซอลาห์ วัสสลาม) ในขณะที่ท่านกำลังจะเชือดลูกตัวเอง พลีให้กับพระเจ้า อัลลอฮ์จึงนำสัตว์มาเปลี่ยนให้ท่าน ในเรื่องนี้มีหลักฐานโดย หะดีษของท่าน อิหม่าม บุคคอรี และ อิหม่าม มุสลิม
وقد ثبت أن النبي – صلى الله عليه وسلم – ضحى بكبشين أملحين أقرنين ذبحهما بيده وسمى وكبر ووضع رجله على صفاحهما" متفق عليه
และได้มีหลักฐานยืนยันว่าแท้จริงท่านนบี อิบรอฮีม ได้เชือดแพะที่มีสีขาวปนกับสีดำ และเริ่มจะมีเขางอก สองตัว ท่านจะเชือดด้วยกับมือของท่านเอง พร้อมกับกล่าวพระนามของอัลลอฮ และกล่าวตักบีร โดยจะเอาเท้าของท่านกดตรงที่ขาหน้าทั้งสองของแพะ (โดย บุคคอรี และ มุสลิม)
8. รายงานโดยอีหม่ามมุสลิม รอฮิมะฮุ้ลลอฮ และคนอื่นๆด้วย จากอุมมุสะละมะห์ รอฎิยัลลอฮุอันฮา ท่านนบี ซ็อลลอลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า
روى مسلم- رحمه الله – وغيره عن أم سلمة- رضي الله عنها- أن النبي – صلى الله عليه وسلم – قال :" إذا رأيتم هلال ذي الحجة وأراد أحدكم أن يضحي فليمسك عن شعره وأظفاره "
เมื่อพวกเขาเห็นจันทร์เสียว ของเดือน ซุ้ลฮิจญะห์ และคนหนึ่งคนใดในหมู่พวกเจ้า ต้องการเชือด สัตว์และจงอย่าตัดเล็บ ตัดผมทุกชนิด
อนึ่ง เพื่อว่าลักษณะดังกล่าวจะไปตรงกับข้อห้ามของผู้ที่ประกอบพิธีฮัจญ์ อันนี้มิได้รวมถึงผู้ที่เป็นภรรยาของผู้ที่จะเชือดสัตว์และลูกๆ เว้นแต่ว่าบุคคลดังกล่าวจะร่วมหุ้นเชือดสัตว์ด้วย หากว่าจะสระผม หรืผทร่วงขณะที่สระผม ถือว่าไม่เป็นไร
9. ให้มุสลิมทุกคนพยายามละหมาดอีด ฟังคุตบะห์ นำไปปฎิบัติในการดำเนิดชีวิต เนื่องจากวันอีดคือวันแห่งการทำความดีขอบคุณอัลลอฮ ห่างจากการกระทำอันชั่วร้าย ห้ามนำเทศกาลนี้เป็นเทศกาลแห่งความชั่ว เปิดประตูต้อนรับสิ่งเลวร้ายเช่น เสียเพลงดนตรี เหล้ายาปลาปิ้ง เพราะอาจจะทำให้การงานที่สะสมไว้ช่วง 10 วันแรกเดือนฮัจญ์ โมฆะได้สุดท้ายนี้ขอขอบคุณต่ออัลลอฮ และทรงช่วยนำทางแก่บ่าว ของพระองค์ด้วยเถิด
หลักฐานประกอบการห้ามพร้อมประมวลคำพูดของนักวิชาการบางท่านในเรื่องดังกล่าว
شيخ الإسلام إبن تيميه رحمهله
الإمام إبن القيم - رحمه الله
الشيخ عبد العزيز بن باز
ชัยคุลอิสลาม อิบนุตัยมียะฮ ร่อฮิมาฮุ้ลลอฮ์
อิหม่าม อิบนุ ก็อยยิม ร่อฮิมาฮุ้ลลอฮ์
เชคอับดุลอะซีซบินบาซ ร่อฮิมาฮุ้ลลอฮ์ الحمد لله والصلاة والسلام على رسول الله وبعد
มวลการสรรเสริญเป็นสิทธิของพระองค์อัลลอฮผู้เป็นพระเจ้า และขอความสันติความจำเริญจงประสบแด่ท่านนบี มุฮัมหมัดศาสนาทูต(ขอพระองค์ทรงประทานความสันติสุขแด่ท่านด้วย)
การฟังเสียงเพลง หรือดนตรี ถือว่าเป็สิ่งหะรอม(ต้องห้าม)เด็ดขาดและนับว่าเป็นความชั่วร้าย และเป็นเหตุให้เกิดโรคร้ายขึ้นในจิตใจและความดื้อดึงกระด้างกระเดื่องต่อพระองค์อัลลอฮ โดยเฉพาะนักวิชาการบางท่านได้กล่าวไว้เกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า มวลนักปราชญ์ทั้งมวลมีมติห้ามฟังเสียงเพลงและดนตรีทุกชนิด
الدليل الثاني من السنة จะมีชนหลายกลุ่มเกิดขึ้นจากประชาชาติของฉัน พวกเขาจะแสวงหาวิธีที่ทำให้การละเมิดประเวณี(ซินา) การสวมผ้าไหม การดืมสุรา และการร้องรำทำเพลงเป็นที่อนุมัติ(หะล้าล)
ووجه الدلالة منه أن المعازف هي آلات اللهو كلمهالا خلاف بين أهل اللغة في دالك
ولا يلتفت إلى ماقاله ابن عبدالبرمن أن هذا القول خلاف الإجماع قال لأنهم قداجمعوا علي أنه لاتراعى الرؤيةفيما بعد من البلدان كخراسان والأندلس وذلك لأن الإجماع لايتم والمخا لف مثل هؤلاء الجماعة
(واعلم) أن الحجة انما هى فى المرفوع رواية ابن عباس لافي اجتهاده الذي فهم عنه الناس المشار اليه بقول هكذا امرنا رسول الله صلى الله عليه وسلم هوقو له فلانزال نصوم حتي نكمل ثلاثين
والأمرالكائن من رسول الله صلى الله عليه وسلم هوما أخرجه الشيخان وغيرهما بلفظ لاتصوموا جتى تروا لهلال ولاتفطروه حتى تروه فإن غم عليكم فاكملوا العدة ثلاثين وهذالاايختص بأهل ناحية على جهه اللإنفراد بل هو خطاب لكل من يصلح له من المسلمين فالإ ستدلال به علي لزوم رؤية أهل بلدلغيرهم من اهل البلاد أظهرمن الإستدلال به على عدم اللزوم لأنه إذارآه أهل بلد فقدرآه المسلمون فيلزم غيرهم مالزمهم
(โปรดรู้ไว้เถิดว่า) แท้จริงสิ่งที่ถูกนำมาอ้างอิงนั้นมันคือหะดิษที่จัดอยู่ในฐานะสูงส่ง เนื่องจากมีศ่อฮาบะฮ์ร่วมกันเล่าหะดิษหลายๆท่าน จากริวายะฮ์(การบอกเล่า)ของอิบนุอับบาส โดยไม่เกี่ยวข้องกับการที่อิบนุอับบาสใช้การวิเคราะห์หะดิษหรือใช้ดุลย์พินิจส่วนตัวตามที่คนส่วนมากพากันเข้าใจว่าอิบนุอับบาส ไม่ยอมรับการประจักษ์เดือนของท่านกุเรบที่เมืองชามกับคนในเมืองนั้น แต่สิ่งที่ชี้ชัดและยืนยันในเรื่องดังกล่าวก็คือคำพูดของท่านอิบนุอับบาสเองที่ว่า ด้วยกับสิ่งนี้เองที่ท่านนบีสั่งให้เรากระทำ และคำพูดของท่านเองอีกว่า พวกเราจึงดำรงไว้ซึ่งการถือศีลอดต่อไปจนกว่าจะครบ 30 วัน
وأما استدلال من استدل بحديث كريب عند مسلم وغيره فغير صحيح
لأنه لم يصرح ابن عباس بأن النبي صلى الله عليه وسلم أمرهم بأ ن لايعملوا برؤ ية غيرهم من أهل الأقطار بل أراد ابن عباس أنه أمرهم بإكمال الثلاثين أو يروه ظنا منه أن المراد بالرؤيةرؤية أهل المحل وهذا خطأ فى الإستدلال اوقع الناس فى الخبط والخلط حتى تفرقوا فى ذلك على ثما نية مذاهب
قال الباني :وهذاكلام عجيب وغريب لأنه إن صح إنه مشاهد موافق للواقع فليس فيه أنه موافق للشرع وقد أختاره كثير من العلماء المحققين مثل شيخ الإسلام ابن تيمية فى الفتاوى ج/25 والشو كانى فى نيل الأوطار وصديق حسن خان فى الرو ضة النديةوغيره فهوالحق الذى لايصح سواه ولايعارضه حديث ابن عباس لأ مورذكره الشوكانى رحمه الله
ولعل الأ قوى ان يقال ان حديث ابن عباس ورد فيمن صام على رؤية بلده ثم بلغه فى اثناء رمضان أنهم راوا الهلال فى بلد آخرقبله بيوم ففى هذه الحا لة يستمر فى الصيام مع بلده حتى يكملوا ثلاثين أويروا هلالهم وبذالك يزول الإشكال ويبقى حديث أبى هريرة وغيره على عمومه ويشمل كل من بلغه رؤية الهلال من أي بلد أواقليم من غير تحديد مسافة اصلا كما قال ابن تيمية فى الفتاوي ج 107/25وهذا أمرمتيسر اليوم للغاية كما هومعلوم