ยินดีต้อนรับสู่ Moradokislam.org!
Homeหน้าแรก     Forumsกระดานข่าว     Your Accountสำหรับสมาชิก     Downloadsดาวน์โหลด     Submit Newsเผยแพร่ข่าวสาร     Topicsหัวข้อเรื่อง     Select Thai LangaugeThai Langauge   
อนุรักษ์มรดกอิสลาม :: ดูกระทู้ - [B]อาจารณ์ ช่วยแปลหน่อยครับ มีคนบอกห้ามแต่งงานกับมุชริก [/B]
อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก อนุรักษ์มรดกอิสลาม  
  เพื่อการอนุรักษ์มรดกอิสลาม      คำถามถามบ่อยของกระดานข่าว      ค้นหา      รายนามสมาชิก  
  · เข้าระบบ ข้อมูลส่วนตัว · เข้าระบบเพื่อตรวจข่าวสารส่วนตัวของคุณ · กลุ่มผู้ใช้งาน  
[B]อาจารณ์ ช่วยแปลหน่อยครับ มีคนบอกห้ามแต่งงานกับมุชริก [/B]

 
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> หลักความเชื่อ
ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป  
ผู้ส่ง ข้อความ
gismad
มือเก่า
มือเก่า


เข้าร่วมเมื่อ: 21/08/2008
ตอบ: 96


ตอบตอบ: Mon Sep 22, 2008 12:59 am    ชื่อกระทู้: [B]อาจารณ์ ช่วยแปลหน่อยครับ มีคนบอกห้ามแต่งงานกับมุชริก [/B] ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

{‏ولا تنكحوا المشركات حتى يؤمن ولأمة مؤمنة خير من مشركة ولو أعجبتكم ولا تنكحوا المشركين حتى يؤمنوا ولعبد مؤمن خير من مشرك ولو أعجبكم أولئك يدعون إلى النار والله يدعو إلى الجنة والمغفرة بإذنه ويبين آياته للناس لعلهم يتذكرون‏}‏

قوله تعالى‏{‏ولا تنكحوا‏}‏ قراءة الجمهور بفتح التاء‏.‏ وقرئت في الشاذ بالضم، كأن المعنى أن المتزوج لها أنكحها من نفسه‏.‏ ونكح أصله الجماع، ويستعمل في التزوج تجوزا واتساعا، وسيأتي بيانه إن شاء الله تعالى‏.‏

لما أذن الله سبحانه وتعالى في مخالطة الأيتام، وفي مخالطة النكاح بين أن مناكحة المشركين لا تصح‏.‏ وقال مقاتل‏whistling#8207; نزلت هذه الآية في أبي مرثد الغنوي، وقيل‏whistling#8207; في مرثد بن أبي مرثد، واسمه كناز بن حصين الغنوي، بعثه رسول الله صلى الله عليه وسلم مكة سرا ليخرج رجلا من أصحابه، وكانت له بمكة امرأة يحبها في الجاهلية يقال لها ‏{‏عناق‏}‏ فجاءته، فقال لها‏whistling#8207; إن الإسلام حرم ما كان في الجاهلية، قالت‏whistling#8207; فتزوجني، قال‏whistling#8207; حتى أستأذن رسول الله صلى الله عليه وسلم، فأتى النبي صلى الله عليه وسلم فاستأذنه فنهاه عن التزوج بها، لأنه كان مسلما وهي مشركة‏.‏ وسيأتي في النور بيانه إن شاء الله تعالى‏.‏

واختلف العلماء في تأويل هذه الآية، فقالت طائفة‏whistling#8207; حرم الله نكاح المشركات في سورة البقرة ثم نسخ من هذه الجملة نساء أهل الكتاب، فأحلهن في سورة المائدة ‏.‏ وروي هذا القول عن ابن عباس، وبه قال مالك بن أنس وسفيان بن سعيد الثوري، وعبدالرحمن بن عمرو الأوزاعي‏.‏ وقال قتادة وسعيد بن جبير‏whistling#8207; لفظ الآية العموم في كل كافرة، والمراد بها الخصوص في الكتابيات، وبينت الخصوص آية المائدة ولم يتناول العموم قط الكتابيات‏.‏ وهذا أحد قولي الشافعي، وعلى القول الأول يتناولهن العموم، ثم نسخت آية المائدة بعض العموم‏.‏ وهذا مذهب مالك رحمه الله، ذكره ابن حبيب، وقال‏whistling#8207; ونكاح اليهودية والنصرانية وإن كان قد أحله الله تعالى مستثقل مذموم‏.‏ وقال إسحاق بن إبراهيم الحربي‏whistling#8207; ذهب قوم فجعلوا الآية التي في البقرة هي الناسخة، والتي في المائدة هي المنسوخة، فحرموا نكاح كل مشركة كتابية أو غير كتابية‏.‏ قال النحاس‏whistling#8207; ومن الحجة لقائل هذا مما صح سنده ما حدثناه محمد بن ريان، قال‏whistling#8207; حدثنا محمد بن رمح، قال‏whistling#8207; حدثنا الليث عن نافع أن عبدالله بن عمر كان إذا سئل عن نكاح الرجل النصرانية أو اليهودية قال‏whistling#8207; حرم الله المشركات على المؤمنين، ولا أعرف شيئا من الإشراك أعظم من أن تقول المرأة ربها عيسى، أو عبد من عباد الله‏!‏‏.‏ قال النحاس‏whistling#8207; وهذا قول خارج عن قول الجماعة الذين تقوم بهم الحجة، لأنه قد قال بتحليل نكاح نساء أهل الكتاب من الصحابة والتابعين جماعة، منهم عثمان وطلحة وابن عباس وجابر وحذيفة‏.‏ ومن التابعين سعيد بن المسيب وسعيد بن جبير والحسن ومجاهد وطاوس وعكرمة والشعبي والضحاك، وفقهاء الأمصار عليه‏.‏ وأيضا فيمتنع أن تكون هذه الآية من سورة البقرة ناسخة للآية التي في سورة المائدة لأن البقرة من أول ما نزل بالمدينة، و المائدة من آخر ما نزل‏.‏ وإنما الآخر ينسخ الأول، وأما حديث ابن عمر فلا حجة فيه، لأن ابن عمر رحمه الله كان رجلا متوقفا، فلما سمع الآيتين، في واحدة التحليل، وفي أخرى التحريم ولم يبلغه النسخ توقف، ولم يؤخذ عنه ذكر النسخ وإنما تؤول عليه، وليس يؤخذ الناسخ والمنسوخ بالتأويل‏.‏ وذكر ابن عطية‏whistling#8207; وقال ابن عباس في بعض ما روي عنه‏whistling#8207; ‏(‏إن الآية عامة في الوثنيات والمجوسيات والكتابيات، وكل من على غير الإسلام حرام‏)‏، فعلى هذا هي ناسخة للآية التي في المائدة وينظر إلى هذا قول ابن عمر في الموطأ‏whistling#8207; ولا أعلم إشراكا أعظم من أن تقول المرأة ربها عيسى‏.‏ وروي عن عمر أنه فرق بين طلحة بن عبيدالله وحذيفة بن اليمان وبين كتابيتين وقالا‏whistling#8207; نطلق يا أمير المؤمنين ولا تغضب، فقال‏whistling#8207; لو جاز طلاقكما لجاز نكاحكما‏!‏ ولكن أفرق بينكما صغرة قمأة‏.‏ قال ابن عطية‏whistling#8207; وهذا لا يستند جيدا، وأسند منه أن عمر أراد التفريق بينهما فقال له حذيفة‏whistling#8207; أتزعم أنها حرام فأخلي سبيلها يا أمير المؤمنين‏؟‏ فقال‏whistling#8207; لا أزعم أنها حرام، ولكني أخاف أن تعاطوا المومسات منهن‏.‏ وروي عن ابن عباس نحو هذا‏.‏ وذكر ابن المنذر جواز نكاح الكتابيات عن عمر بن الخطاب، ومن ذكر من الصحابة والتابعين في قول النحاس‏.‏ وقال في آخر كلامه‏whistling#8207; ولا يصح عن أحد من الأوائل أنه حرم ذلك‏.‏ وقال بعض العلماء‏whistling#8207; وأما الآيتان فلا تعارض بينهما، فإن ظاهر لفظ الشرك لا يتناول أهل الكتاب، لقوله تعالى‏{‏ما يود الذين كفروا من أهل الكتاب ولا المشركين أن ينزل عليكم من خير من ربكم‏}‏البقرة‏whistling#8207; 105‏‏، وقال‏{‏لم يكن الذين كفروا من أهل الكتاب والمشركين‏}‏البينة‏whistling#8207; 1‏ ففرق بينهم في اللفظ، وظاهر العطف يقتضي مغايرة بين المعطوف والمعطوف عليه، وأيضا فاسم الشرك عموم وليس بنص، وقوله تعالى‏{‏والمحصنات من الذين أوتوا الكتاب‏}‏المائدة‏whistling#8207; 5‏ بعد قوله ‏{‏والمحصنات من المؤمنات‏}‏ نص، فلا تعارض بين المحتمل وبين ما لا يحتمل‏.‏ فإن قيل‏whistling#8207; أراد بقوله‏{‏والمحصنات من الذين أوتوا الكتاب من قبلكم‏}‏ أي أوتوا الكتاب من قبلكم وأسلموا، كقوله ‏{‏وإن من أهل الكتاب لمن يؤمن بالله‏}‏آل عمران‏whistling#8207; 199‏‏ الآية‏.‏ وقوله‏{‏من أهل الكتاب أمة قائمة‏}‏آل عمران‏whistling#8207; 113‏‏ الآية‏.‏ قيل له‏whistling#8207; هذا خلاف نص الآية في قوله‏{‏والمحصنات من الذين أوتوا الكتاب من قبلكم‏}‏ وخلاف ما قاله الجمهور، فإنه لا يشكل على أحد جواز التزويج ممن أسلم وصار من أعيان المسلمين‏.‏ فإن قالوا‏whistling#8207; فقد قال الله تعالى‏{‏أولئك يدعون إلى النار‏}‏ فجعل العلة في تحريم نكاحهن الدعاء إلى النار‏.‏ والجواب أن ذلك علة لقوله تعالى‏{‏ولأمة مؤمنة خير من مشركة‏}‏ لأن المشرك يدعو إلى النار، وهذه العلة مطردة في جميع الكفار، فالمسلم خير من الكافر مطلقا، وهذا بين‏
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Tue Sep 23, 2008 4:59 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

โอ้....ตุกตาเยอะจัง ลองมาอ่านกระทู้นี้ดีกว่านะครับ
http://www.moradokislam.org/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=2550&highlight=
คุณผู้มีนามว่า "nop" ได้แปลฟัตวา และโพสต์ไว้ดังนี้
คำฟัตวาของอุละมาอ์ร่วมสมัย
. คณะกรรมการถาวรเพื่อการวิจัยปัญหาและการฟัตวา ของประเทศซาอุดิอาราเบีย
تفسير قوله تعالى ولا تنكحوا المشركات حتى يؤمن
الأسئلة الأول والثاني والثالث من الفتوى رقم (2229):
س 1: تفسير قوله تعالى: ولا تنكحوا المشركات حتى يؤمن الآية.
ج 1: تفسير قوله تعالى: ولا تنكحوا المشركات حتى يؤمن نهى الله تعالى عباده المؤمنين أن يتزوجوا المشركات غير الكتابيات: يهوديات، أو نصرانيات، بدليل قوله تعالى: اليوم أحل لكم الطيبات وطعام الذين أوتوا الكتاب حل لكم وطعامكم حل لهم والمحصنات من المؤمنات والمحصنات من الذين أوتوا الكتاب من قبلكم ... الآية، فأحل جل شأنه بآية المائدة للمؤمنين أن يتزوجوا الكتابيات المحصنات: وهن العفيفات الحرائر يهوديات أو نصرانيات، فدل ذلك على أنهن لم يدخلن في عموم المشركات في آية البقرة، كما لم يدخل أهل الكتاب في المشركين في آية: لم يكن الذين كفروا من أهل الكتاب والمشركين منفكين حتى تأتيهم البينة ولا في آية: إن الذين آمنوا والذين هادوا والصابئين والنصارى والمجوس والذين أشركوا ... أو يقال: إنهن دخلن في عموم المشركات في آية البقرة، غير أن آية المائدة دلت على استثناء الكتابيات من عموم آية البقرة.
وعلى كلا الاحتمالين أو القولين لا تعارض بين الآيتين، فإن آية النهي محمولة على نوع من الكفار، وآية الحل محمولة على نوع آخر منهم، وبهذا قال جمهور الصحابة رضي الله عنهم إن لم يكونوا أجمعوا عليه، فقد ذكر ابن جرير في تفسيره إجماعهم على الجواز، وحكم بضعف إنكار عمر رضي الله عنه على طلحة بن عبيد الله تزوجه يهودية، وعلى حذيفة بن اليمان تزوجه نصرانية من جهة سنده ومن معارضة الأقوى منه له. وذكر أن كراهيته وكراهية ابنه عبد الله رضي الله عنهما ذلك قد تكون خشية أن يتمادى المسلمون في نكاح الكتابيات ويتتابعوا في ذلك; اقتداء بمثل حذيفة وطلحة وعثمان رضي الله عنهم، ويعرضوا عن الزواج بالمسلمات، وفي ذلك مخالفة لنصح النبي صلى الله عليه وسلم أمته أن يتخيروا من النساء ذوات الدين ولا شك أن المسلمة خير من الكتابية دينا ...
وبالله التوفيق، وصلى الله على نبينا محمد, وآله وصحبه وسلم.
اللجنة الدائمة للبحوث العلمية والإفتاء
عضو، عضو، نائب رئيس اللجنة، الرئيس
عبد الله بن قعود، عبد الله بن غديان، عبد الرزاق عفيفي، عبد العزيز بن عبد الله بن باز
คำแปล
ตัฟซีรดำรัสของอัลลอฮ์ที่ว่า "พวกเจ้าอย่าได้แต่งง่านกับหญิงที่ตั้งภาคี จนกว่านางจะศรัทธา"
คำถามที่หนึ่ง (อะไรคือ) คำอธิบายดำรัสของอัลลอฮ์ที่ว่า"พวกเจ้าอย่าได้แต่งง่านกับหญิงที่ตั้งภาคี จนกว่านางจะศรัทธา"
คำตอบที่หนึ่ง คำอธิบายดำรัสของอัลลอฮ์ที่ว่า"พวกเจ้าอย่าได้แต่งง่านกับหญิงที่ตั้งภาคี จนกว่านางจะศรัทธา" คือ อัลลอฮ์ทรงห้ามมิไห้ปวงบ่าวผู้ศรัทธาแต่งงานกับหญิงมุชริก (ตั้งภาคี) ที่ไม่ใช่อะห์ลุ้ลกิตาบซึ่งก็คือสตรียะฮูดและสตรีนะศอรอ ด้วยหลักฐานที่ว่า "วันนี้สิ่งดีๆ ทั้งหลายเป็นที่อนุมัติแก่พวกเจ้า อาหาร (สัตว์ที่เชือด) ของบรรดาผู้ได้รับคัมภีร์ เป็นที่อนุมัติแก่พวกเจ้าและอาหารของพวกเจ้าก็เป็นที่อนุมัติแก่พวกเขา บรรดาสตรีที่มั๊วห์ศ่อนาต (เป็นไทหรือรักนวลสงวนตัว) จากบรรดาผู้ศรัทธาและจากบรรดาผู้ได้รับคัมภีร์ก่อนหน้าพวกเจ้า (ก็เป็นที่อนุมัติแก่พวกเจ้า)" พระองค์ผู้ทรงสูงส่งอนุมัติในซูเราะห์อัลมาอิดะห์ ให้บรรดาชายที่ศรัทธาแต่งงานกับหญิงอะห์ลุ้ลกิตาบที่มั๊วห์ศ่อนาต หมายถึงสตรีที่ไม่สำส่อนทางเพศและเป็นไท ไม่ว่าจะเป็นสตรียะฮูดหรือนะศอรอก็ตาม ดังนั้นจึงเป็นระบุว่าสตรีเหล่านี้มิได้อยู่ในความหมายของคำว่า "บรรดาหญิงที่ตั้งภาคี" ที่ปรากฏในอายะห์หนึ่งในซูเราะห์อัลบะก่อเราะห์ และอะห์ลุ้ลกิตาบก็มิได้เข้าอยู่ในความหมายของมุชริกีน (บรรดาผู้ตั้งภาคี) ในอายะห์ที่ว่า " บรรดาผู้ปฏิเสธจากชาวคัมภีร์และบรรดาผู้ตั้งภาคีมิได้แยกจากกันจนกระทั้งความชัดเจนได้มาถึง" และก็ไม่เข้าอยู่ในความหมายของอายะห์ที่ว่า " แท้จริงบรรดาผู้ศรัทธาแล้ว ผู้ที่กลายเป็นยะฮูด พวกศอบิอีน พวกนะศอรอ พวกมะญูซ และบรรดาผู้ตั้งภาคี " และหากจะเข้าใจว่าหญิงอะห์ลุ้ลกิตาบเข้าอยู่ในความหมายที่กว้างในโองการอัลบะก่อเราะด้วย แต่โองการในอัลมาอิดะห์ก็มาจำกัดและยกเว้นความกว้างของโองการในอัลบะก่อเราะห์
อย่างไรก็ดี ทั้งสองโองการหาได้ขัดแย้งกันแต่อย่างใดไม่เพราะโองการที่ห้ามนั้นหมายถึง(ห้ามแต่งงานกับ) กุฟฟาร (บรรดาผู้ปฏิเสธ) ประเภทหนึ่ง ส่วนโองการที่อนุมัติ ก็เป็นการอนุมัติ(ให้แต่งงานกับกุฟฟาร) อีกประเภทหนึ่ง เหตุนี้ (การอนุมัติให้แต่งงานกับหญิงอะห์ลุ้ลกิตาบ) จึงเป็นทัศนะของศ่อฮาบะห์ส่วนใหญ่ถึงแม้จะเป็นเอกฉันท์ก็ตาม ท่านอิบนุญะรีรกล่าวไว้ในตัฟซีรของท่านว่ามันเป็นมติเอกฉันท์ของเหล่าศ่อฮาบะห์ อีกทั้งท่านได้ชี้ว่าสายรายงานที่ระบุว่าท่านอุมัรแสดงความรังเกียจที่ท่านฏอลฮะห์ อิบนุ อุบัยดิลลาห์ ที่แต่งงานกับหญิงยะฮูด และท่านฮุซัยฟะห์ อิบนุ้ล ยะมาน ที่แต่งงานกับหญิงนะศอรอ ว่าเป็นสายรายงานที่อ่อนหลักฐาน และยังค้านกับสิ่งที่(หลักฐาน) แข็งแรงกว่า (ท่านอิบนุญะรีร) ยังกล่าวอีกว่าเหตุที่ท่านอุมันและอิบนุอุมัรแสดงความรังเกียจสิ่งดังกล่าวก็เพราะว่าเกรงว่ามุสลิมอื่นๆ หันไปแต่งกับหญิงอะห์ลุ้ลกิตาบโดยกระทำตามและเลียนแบบท่านฮุซัยฟะห์และฏอลฮะห์ และจะละเลยไม่แต่งกับหญิงมุสลิม (มุสลิมะห์) ก็จะกลายเป็นว่าไม่นำพาต่อคำสอนของท่านนะบี ศ้อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ที่ให้เลือกสตรีที่มีศาสนาซึ่งแน่นอนว่ามุสลิมะห์นั้นย่อมมีศาสนาดีกว่าหญิงอะห์ลุ้ลกิตาบ"
คณะกรรมการถาวรเพื่อการวิจัยทางวิชาการและการฟัตวา
กรรมการ,กรรมการ,รองประธาน,ประธาน
อับดุลลอฮ์ อิบนุ ก่ออู๊ด,อับดุลลอฮ์ อิบนุ ฆุดัยยาน,อับดุรรอซซาก อะฟีฟี่
อับดุลอะซี้ซ อิบนุ บาซ
.................

_________________
จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
asan
ผู้ดูแลกระดานเสวนา
ผู้ดูแลกระดานเสวนา


เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005
ตอบ: 3165


ตอบตอบ: Tue Sep 23, 2008 5:36 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

ขอนำเสนอเพิ่มเติมเกี่ยวกับการห้ามแต่งงานกับมุชริก ตามที่ท่านอิหม่ามชาฟิอี(ขออัลลอฮเมตตาต่อท่าน) ได้อรรถาธิบายไว้ดังนี้
وَقَالَ اللَّهُ عَزَّ وَجَلَّ : { وَلَا تَنْكِحُوا الْمُشْرِكَاتِ حَتَّى يُؤْمِنَّ وَلَأَمَةٌ مُؤْمِنَةٌ خَيْرٌ مِنْ مُشْرِكَةٍ وَلَوْ أَعْجَبَتْكُمْ وَلَا تَنْكِحُوا الْمُشْرِكِينَ
حَتَّى يُؤْمِنُوا وَلَعَبْدٌ مُؤْمِنٌ خَيْرٌ مِنْ مُشْرِكٍ وَلَوْ أَعْجَبَكُمْ } . قَالَ الشَّافِعِيُّ : وَقَدْ قِيلَ فِي هَذِهِ الْآيَةِ إنَّهَا نَزَلَتْ فِي جَمَاعَةِ مُشْرِكِي الْعَرَبِ : الَّذِينَ هُمْ أَهْلِ الْأَوْثَانِ ؛ فَحَرَّمَ : نِكَاحَ نِسَائِهِمْ ، كَمَا حَرَّمَ أَنْ يَنْكِحَ رِجَالُهُمْ الْمُؤْمِنَاتِ فَإِذَا كَانَ هَذَا هَكَذَا فَهَذِهِ الْآيَةُ ثَابِتَةٌ لَيْسَ فِيهَا مَنْسُوخٌ . وَقَدْ قِيلَ هَذِهِ الْآيَةُ فِي جَمِيعِ الْمُشْرِكِينَ ، ثُمَّ نَزَلَتْ الرُّخْصَةُ [ بَعْدَهَا ] : فِي إحْلَالِ نِكَاحِ حَرَائِرِ أَهْلِ الْكِتَابِ خَاصَّةً ، كَمَا جَاءَتْ فِي إحْلَالِ ذَبَائِحِ أَهْلِ الْكِتَابِ
อัลลอฮผู้ทรงสูงส่งและทรงเลิศยิ่งตรัสว่า
(และพวกเจ้าจงอย่าแต่งงานกับหญิงมุชริก จนกว่านางจะศรัทธา และทาสหญิงที่เป็นผู้ศรัทธานั้นดียิ่งกว่าหญิงที่เป็นมุชริก แม้ว่านางได้ทำให้พวกเจ้าพึงใจก็ตาม และพวกเจ้าจงอย่าให้แต่งงานกับบรรดาชายมุชริก จนกว่าพวกเขาจะศรัทธา และทาสชายที่เป็นผู้ศรัทธานั้นดีกว่าชายมุชริก และแม้ว่าเขาได้ทำให้พวกเจ้าพึงใจก็ตาม ) อิหม่ามชาฟิอี กล่าวว่า " และแท้จริงได้มีผู้กล่าวว่า โองการนี้ถูกประทานลงมาในเรื่องที่เกี่ยวกับมุชริกีนอาหรับกลุ่มหนึ่ง ซึ่งพวกเขาคือ ผู้ที่บูชาเทวรูป แล้วจึงได้มีบัญญัติห้ามแต่งงานกับบรรดาผู้หญิงในหมู่พวกเขา ดังที่ได้มีบัญญัติห้ามไม่ให้บรรดาผู้ชายในหมู่พวกเขาแต่งงานกับบรรดาผู้หญิงที่ศรัทธา ดังนั้น เมื่อกรณีนี้เป็นแบบนี้ โองการนี้ก็ยังคงมีผลบังคับอยู่ ไม่ได้ถูกยกเลิก และมีผู้กล่าวว่า โองการนี้ เกี่ยวกับบรรดาผู้ตั้งภาคีทั้งหมด ต่อมา ข้อผ่อนปรนได้ถูกประทานลงมา(หลังจากนั้น) ในเรื่อง การอนุมัติให้แต่งงานกับบรรดาหญิงอิสระชนที่เป็นชาวคัมภีร์ เป็นการเฉพาะ ดังที่อนุมัติสัตว์เชือดของชาวคัมภีร์ - ดูอะหกามอัลกุรอ่าน ของอิหม่ามชาฟิอี ( أحكام القرآن للشافعي )
.......
วัสสลาม

_________________
จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
gismad
มือเก่า
มือเก่า


เข้าร่วมเมื่อ: 21/08/2008
ตอบ: 96


ตอบตอบ: Tue Sep 23, 2008 12:57 pm    ชื่อกระทู้: ไม่ใช่คับ มีคนอ้างว่าตัฟซีร ของ กุตุบีย์ ว่าอายะห์นี้ถูกยกแ ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

อาจารณ์ คับ มีอาจารณ์ ท่านหนึ่ง บอกว่า อายะห์นี้ในซูเราะห์ อัลบาเราะหถูก ยกเลิกด้วยกับอายะห์หนึ่งในซูเราะ อัลมาอิดะห์ ลองอ่านและช่วย อธิบายหน่อยคับ
وَلَا تَنْكِحُوا الْمُشْرِكَاتِ حَتَّى يُؤْمِنَّ وَلَأَمَةٌ مُؤْمِنَةٌ خَيْرٌ مِنْ مُشْرِكَةٍ وَلَوْ أَعْجَبَتْكُمْ

فِيهِ سَبْع مَسَائِل : الْأُولَى : قَوْله تَعَالَى : " وَلَا تَنْكِحُوا " قِرَاءَة الْجُمْهُور بِفَتْحِ التَّاء . وَقُرِئَتْ فِي الشَّاذّ بِالضَّمِّ , كَأَنَّ الْمَعْنَى أَنَّ الْمُتَزَوِّج لَهَا أَنْكَحَهَا مِنْ نَفْسه . وَنَكَحَ أَصْله الْجِمَاع , وَيُسْتَعْمَل فِي التَّزَوُّج تَجَوُّزًا وَاتِّسَاعًا , وَسَيَأْتِي بَيَانه إِنْ شَاءَ اللَّه تَعَالَى .

الثَّانِيَة : لَمَّا أَذِنَ اللَّه سُبْحَانه وَتَعَالَى فِي مُخَالَطَة الْأَيْتَام , وَفِي مُخَالَطَة النِّكَاح بَيَّنَ أَنَّ مُنَاكَحَة الْمُشْرِكِينَ لَا تَصِحّ . وَقَالَ مُقَاتِل : نَزَلَتْ هَذِهِ الْآيَة فِي أَبِي مَرْثَد الْغَنَوِيّ , وَقِيلَ : فِي مَرْثَد بْن أَبِي مَرْثَد , وَاسْمه كَنَّاز بْن حُصَيْن الْغَنَوِيّ , بَعَثَهُ رَسُول اللَّه صَلَّى اللَّه عَلَيْهِ وَسَلَّمَ مَكَّة سِرًّا لِيُخْرِج رَجُلًا مِنْ أَصْحَابه , وَكَانَتْ لَهُ بِمَكَّة اِمْرَأَة يُحِبّهَا فِي الْجَاهِلِيَّة يُقَال لَهَا " عَنَاق " فَجَاءَتْهُ , فَقَالَ لَهَا : إِنَّ الْإِسْلَام حَرَّمَ مَا كَانَ فِي الْجَاهِلِيَّة , قَالَتْ : فَتَزَوَّجْنِي , قَالَ : حَتَّى أَسْتَأْذِن رَسُول اللَّه صَلَّى اللَّه عَلَيْهِ وَسَلَّمَ , فَأَتَى النَّبِيّ صَلَّى اللَّه عَلَيْهِ وَسَلَّمَ فَاسْتَأْذَنَهُ فَنَهَاهُ عَنْ التَّزَوُّج بِهَا ; لِأَنَّهُ كَانَ مُسْلِمًا وَهِيَ مُشْرِكَة . وَسَيَأْتِي فِي " النُّور " بَيَانه إِنْ شَاءَ اللَّه تَعَالَى .

الثَّالِثَة : وَاخْتَلَفَ الْعُلَمَاء فِي تَأْوِيل هَذِهِ الْآيَة , فَقَالَتْ طَائِفَة : حَرَّمَ اللَّه نِكَاح الْمُشْرِكَات فِي سُورَة " الْبَقَرَة " ثُمَّ نُسِخَ مِنْ هَذِهِ الْجُمْلَة نِسَاء أَهْل الْكِتَاب , فَأَحَلَّهُنَّ فِي سُورَة " الْمَائِدَة " . وَرُوِيَ هَذَا الْقَوْل عَنْ اِبْن عَبَّاس , وَبِهِ قَالَ مَالِك بْن أَنَس وَسُفْيَان بْن سَعِيد الثَّوْرِيّ , وَعَبْد الرَّحْمَن بْن عَمْرو الْأَوْزَاعِيّ . وَقَالَ قَتَادَة وَسَعِيد بْن جُبَيْر : لَفْظ الْآيَة الْعُمُوم فِي كُلّ كَافِرَة , وَالْمُرَاد بِهَا الْخُصُوص فِي الْكِتَابِيَّات , وَبَيَّنَتْ الْخُصُوص آيَة " الْمَائِدَة " وَلَمْ يَتَنَاوَل الْعُمُوم قَطُّ الْكِتَابِيَّات . وَهَذَا أَحَد قَوْلَيْ الشَّافِعِيّ , وَعَلَى الْقَوْل الْأَوَّل يَتَنَاوَلهُنَّ الْعُمُوم , ثُمَّ نَسَخَتْ آيَة " الْمَائِدَة " بَعْض الْعُمُوم . وَهَذَا مَذْهَب مَالِك رَحِمَهُ اللَّه , ذَكَرَهُ اِبْن حَبِيب , وَقَالَ : وَنِكَاح الْيَهُودِيَّة وَالنَّصْرَانِيَّة وَإِنْ كَانَ قَدْ أَحَلَّهُ اللَّه تَعَالَى مُسْتَثْقَل مَذْمُوم . وَقَالَ إِسْحَاق بْن إِبْرَاهِيم الْحَرْبِيّ : ذَهَبَ قَوْم فَجَعَلُوا الْآيَة الَّتِي فِي " الْبَقَرَة " هِيَ النَّاسِخَة , وَاَلَّتِي فِي " الْمَائِدَة " هِيَ الْمَنْسُوخَة , فَحَرَّمُوا نِكَاح كُلّ مُشْرِكَة كِتَابِيَّة أَوْ غَيْر كِتَابِيَّة . قَالَ النَّحَّاس : وَمِنْ الْحُجَّة لِقَائِلِ هَذَا مِمَّا صَحَّ سَنَده مَا حَدَّثَنَاهُ مُحَمَّد بْن رَيَّان , قَالَ : حَدَّثَنَا مُحَمَّد بْن رُمْح , قَالَ : حَدَّثَنَا اللَّيْث عَنْ نَافِع أَنَّ عَبْد اللَّه بْن عُمَر كَانَ إِذَا سُئِلَ عَنْ نِكَاح الرَّجُل النَّصْرَانِيَّة أَوْ الْيَهُودِيَّة قَالَ : حَرَّمَ اللَّه الْمُشْرِكَات عَلَى الْمُؤْمِنِينَ , وَلَا أَعْرِف شَيْئًا مِنْ الْإِشْرَاك أَعْظَم مِنْ أَنْ تَقُول الْمَرْأَة رَبّهَا عِيسَى , أَوْ عَبْد مِنْ عِبَاد اللَّه ! . قَالَ النَّحَّاس : وَهَذَا قَوْل خَارِج عَنْ قَوْل الْجَمَاعَة الَّذِينَ تَقُوم بِهِمْ الْحُجَّة , لِأَنَّهُ قَدْ قَالَ بِتَحْلِيلِ نِكَاح نِسَاء أَهْل الْكِتَاب مِنْ الصَّحَابَة وَالتَّابِعِينَ جَمَاعَة , مِنْهُمْ عُثْمَان وَطَلْحَة وَابْن عَبَّاس وَجَابِر وَحُذَيْفَة . وَمِنْ التَّابِعِينَ سَعِيد بْن الْمُسَيِّب وَسَعِيد بْن جُبَيْر وَالْحَسَن وَمُجَاهِد وَطَاوُس وَعِكْرِمَة وَالشَّعْبِيّ وَالضَّحَّاك , وَفُقَهَاء الْأَمْصَار عَلَيْهِ . وَأَيْضًا فَيَمْتَنِع أَنْ تَكُون هَذِهِ الْآيَة مِنْ سُورَة " الْبَقَرَة " نَاسِخَة لِلْآيَةِ الَّتِي فِي سُورَة " الْمَائِدَة " لِأَنَّ " الْبَقَرَة " مِنْ أَوَّل مَا نَزَلَ بِالْمَدِينَةِ , و " الْمَائِدَة " مِنْ آخِر مَا نَزَلَ . وَإِنَّمَا الْآخَر يَنْسَخ الْأَوَّل , وَأَمَّا حَدِيث اِبْن عُمَر فَلَا حُجَّة فِيهِ ; لِأَنَّ اِبْن عُمَر رَحِمَهُ اللَّه كَانَ رَجُلًا مُتَوَقِّفًا , فَلَمَّا سَمِعَ الْآيَتَيْنِ , فِي وَاحِدَة التَّحْلِيل , وَفِي أُخْرَى التَّحْرِيم وَلَمْ يَبْلُغهُ النَّسْخ تَوَقَّفَ , وَلَمْ يُؤْخَذ عَنْهُ ذِكْر النَّسْخ وَإِنَّمَا تُؤُوِّلَ عَلَيْهِ , وَلَيْسَ يُؤْخَذ النَّاسِخ وَالْمَنْسُوخ بِالتَّأْوِيلِ . وَذَكَرَ اِبْن عَطِيَّة : وَقَالَ اِبْن عَبَّاس فِي بَعْض مَا رُوِيَ عَنْهُ : ( إِنَّ الْآيَة عَامَّة فِي الْوَثَنِيَّات وَالْمَجُوسِيَّات وَالْكِتَابِيَّات , وَكُلّ مَنْ عَلَى غَيْر الْإِسْلَام حَرَام ) , فَعَلَى هَذَا هِيَ نَاسِخَة لِلْآيَةِ الَّتِي فِي " الْمَائِدَة " وَيُنْظَر إِلَى هَذَا قَوْل اِبْن عُمَر فِي الْمُوَطَّإِ : وَلَا أَعْلَم إِشْرَاكًا أَعْظَم مِنْ أَنْ تَقُول الْمَرْأَة رَبّهَا عِيسَى . وَرُوِيَ عَنْ عُمَر أَنَّهُ فَرَّقَ بَيْن طَلْحَة بْن عُبَيْد اللَّه وَحُذَيْفَة بْن الْيَمَان وَبَيْن كِتَابِيَّتَيْنِ وَقَالَا : نُطَلِّقُ يَا أَمِير الْمُؤْمِنِينَ وَلَا تَغْضَب , فَقَالَ : لَوْ جَازَ طَلَاقكُمَا لَجَازَ نِكَاحكُمَا ! وَلَكِنْ أُفَرِّق بَيْنكُمَا صَغْرَة قَمْأَة . قَالَ اِبْن عَطِيَّة : وَهَذَا لَا يَسْتَنِد جِيدًا , وَأُسْنِدَ مِنْهُ أَنَّ عُمَر أَرَادَ التَّفْرِيق بَيْنهمَا فَقَالَ لَهُ حُذَيْفَة : أَتَزْعُمُ أَنَّهَا حَرَام فَأُخْلِي سَبِيلهَا يَا أَمِير الْمُؤْمِنِينَ ؟ فَقَالَ : لَا أَزْعُم أَنَّهَا حَرَام , وَلَكِنِّي أَخَاف أَنْ تَعَاطَوْا الْمُومِسَات مِنْهُنَّ . وَرُوِيَ عَنْ اِبْن عَبَّاس نَحْو هَذَا . وَذَكَرَ اِبْن الْمُنْذِر جَوَاز نِكَاح الْكِتَابِيَّات عَنْ عُمَر بْن الْخَطَّاب , وَمَنْ ذَكَرَ مِنْ الصَّحَابَة وَالتَّابِعِينَ فِي قَوْل النَّحَّاس . وَقَالَ فِي آخِر كَلَامه : وَلَا يَصِحّ عَنْ أَحَد مِنْ الْأَوَائِل أَنَّهُ حَرَّمَ ذَلِكَ . وَقَالَ بَعْض الْعُلَمَاء : وَأَمَّا الْآيَتَانِ فَلَا تَعَارُض بَيْنهمَا , فَإِنَّ ظَاهِر لَفْظ الشِّرْك لَا يَتَنَاوَل أَهْل الْكِتَاب , لِقَوْلِهِ تَعَالَى : " مَا يَوَدّ الَّذِينَ كَفَرُوا مِنْ أَهْل الْكِتَاب وَلَا الْمُشْرِكِينَ أَنْ يُنَزَّل عَلَيْكُمْ مِنْ خَيْر مِنْ رَبّكُمْ " [ الْبَقَرَة : 105 ] , وَقَالَ : " لَمْ يَكُنْ الَّذِينَ كَفَرُوا مِنْ أَهْل الْكِتَاب وَالْمُشْرِكِينَ " [ الْبَيِّنَة : 1 ] فَفَرَّقَ بَيْنهمْ فِي اللَّفْظ , وَظَاهِر الْعَطْف يَقْتَضِي مُغَايَرَة بَيْن الْمَعْطُوف وَالْمَعْطُوف عَلَيْهِ , وَأَيْضًا فَاسْم الشِّرْك عُمُوم وَلَيْسَ بِنَصٍّ , وَقَوْله تَعَالَى : " وَالْمُحْصَنَات مِنْ الَّذِينَ أُوتُوا الْكِتَاب " [ الْمَائِدَة : 5 ] بَعْد قَوْله " وَالْمُحْصَنَات مِنْ الْمُؤْمِنَات " نَصّ , فَلَا تَعَارُض بَيْن الْمُحْتَمَل وَبَيْن مَا لَا يُحْتَمَل . فَإِنْ قِيلَ : أَرَادَ بِقَوْلِهِ : " وَالْمُحْصَنَات مِنْ الَّذِينَ أُوتُوا الْكِتَاب مِنْ قَبْلكُمْ " أَيْ أُوتُوا الْكِتَاب مِنْ قَبْلكُمْ وَأَسْلَمُوا , كَقَوْلِهِ " وَإِنَّ مِنْ أَهْل الْكِتَاب لَمَنْ يُؤْمِن بِاَللَّهِ " [ آل عِمْرَان : 199 ] الْآيَة . وَقَوْله : " مِنْ أَهْل الْكِتَاب أُمَّة قَائِمَة " [ آل عِمْرَان : 113 ] الْآيَة . قِيلَ لَهُ : هَذَا خِلَاف نَصّ الْآيَة فِي قَوْله : " وَالْمُحْصَنَات مِنْ الَّذِينَ أُوتُوا الْكِتَاب مِنْ قَبْلكُمْ " وَخِلَاف مَا قَالَهُ الْجُمْهُور , فَإِنَّهُ لَا يُشْكِل عَلَى أَحَد جَوَاز التَّزْوِيج مِمَّنْ أَسْلَمَ وَصَارَ مِنْ أَعْيَان الْمُسْلِمِينَ . فَإِنْ قَالُوا : فَقَدْ قَالَ اللَّه تَعَالَى : " أُولَئِكَ يَدْعُونَ إِلَى النَّار " فَجَعَلَ الْعِلَّة فِي تَحْرِيم نِكَاحهنَّ الدُّعَاء إِلَى النَّار . وَالْجَوَاب أَنَّ ذَلِكَ عِلَّة لِقَوْلِهِ تَعَالَى : " وَلَأَمَة مُؤْمِنَة خَيْر مِنْ مُشْرِكَة " لِأَنَّ الْمُشْرِك يَدْعُو إِلَى النَّار , وَهَذِهِ الْعِلَّة مُطَّرِدَة فِي جَمِيع الْكُفَّار , فَالْمُسْلِم خَيْر مِنْ الْكَافِر مُطْلَقًا , وَهَذَا بَيِّن .
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
gismad
มือเก่า
มือเก่า


เข้าร่วมเมื่อ: 21/08/2008
ตอบ: 96


ตอบตอบ: Tue Sep 23, 2008 1:02 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

ครั้งนี้ตัวกาตูนหายไปแล้ว
ช่วย หน่อย อธิบายที อยากรู้จริงๆ ว่าตัฟซีรโดยท่าน กุรตุบีย์ นี้นำมาใช้ได้หรือไม่
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
AlGhuraba
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 15/06/2004
ตอบ: 226


ตอบตอบ: Thu Sep 25, 2008 11:06 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

ในข้อความที่อ้างมาอาจจะบอกว่าอุละมาอ์กลุ่มหนึ่งเห็นว่าอายะฮฺนี้ถูกยกเลิกโดยใช้คำว่า نُسِخَ ก็คงต้องหยิบเอาทั้งสองอายะฮฺที่เกี่ยวข้องนั้นมาพิจารณาว่าใครยกเลิกใครอย่างไร จะกล่าวลอยๆว่า อายะฮฺนี้ถูกยกเลิกเฉยๆเด๋วจะเข้าใจผิด ไปคว้าหญิงมุชริกมาแต่งงานจะไปกันใหญ่

ในอัลบะเกาะเราะฮฺนี้บอกว่า : ท่านทั้งหลายจงอย่าแต่งงานกับหญิงมุชริกจนกว่านางจะศรัทธา และทาสหญิงที่ศรัทธานั้นดีกว่าหญิงมุชริกแม้ว่านางจะเป็นที่ต้องใจเจ้าก็ตาม
ส่วนอีกอายะฮฺหนึ่งในอัลมาอิดะฮฺบอกว่า : บรรดาสตรีที่มั๊วห์ศ่อนาต (เป็นไทหรือรักนวลสงวนตัว) จากบรรดาผู้ศรัทธาและจากบรรดาผู้ได้รับคัมภีร์ก่อนหน้าพวกเจ้า (ก็เป็นที่อนุมัติแก่พวกเจ้า)

อายะฮฺหญิงมุชริกในอัลบะเกาะเราะฮฺถูกประทานลงมาก่อนในช่วงแรกๆของมะดะนียะฮฺ
แล้วอายะฮฺหญิงอะฮฺลุลกิตาบในอัลมาอิดะฮฺก็ถูกประทานมาในช่วงหลัง

ดังนั้นข้อห้ามในช่วงแรกคือคลุมไปทั้งหมดในกลุ่มที่ไม่ใช่ มุอ์มินะฮฺ ห้ามแต่งด้วยทั้งนั้น พวกกุฟฟาร กุร็อยช์ ตั้งภาคี ทำชิริก เห็นชัดๆ..ห้ามแต่ง พวกอะฮฺลุลกิตาบก็ชิริกเหมือนกัน เพราะยก อุซัยร์ขึ้นเป็นพระเจ้าเทียบเคียงอัลลอฮฺ หรือยกนบีอีซาเป็นพระเจ้าหรือเป็นพระบุตรของอัลลอฮฺ ดังนั้นหญิงอะฮฺลุลกิตาบโดยทั่วไปจึงอยู่ในข่ายต้องห้ามไปด้วย ดังที่เศาะหาบะฮฺบางท่าน เช่น อิบนิอุมัรบอกว่า “อัลลอฮฺทรงบัญญัติให้หญิงมุชริกทั้งหลายเป็นที่ต้องห้ามแก่บรรดาชายมุอ์มิน และฉันก็ไม่เห็นว่าจะมีอะไรที่เป็นการชิริกอย่างมหันต์ไปกว่าการที่ผู้หญิงคนหนึ่งจะบอกว่าอีซาหรือจะว่าบ่าวคนใดคนหนึ่งของอัลลอฮฺก็ตาม เป็นพระเจ้าของนาง”

ต่อเมื่ออายะฮฺหญิงอะฮฺลุลกิตาบในอัลมาอิดะฮฺถูกประทานมา ข้อห้ามนั้นก็เปิดข้อยกเว้นให้หน่อยนึง คือ ให้แต่งกับ “บรรดามั๊วห์ศ่อนาต” ในกลุ่มหญิงอะฮฺลุลกิตาบได้ ไม่ได้เปิดเลยเถิดไปถึง อะฮฺลุลกิตาบทั้งหมดนะครับ ต้อง มัวะห์เศาะนาต ที่อาจารย์อะสันแปลว่าหญิงที่รักนวลสงวนตัว คือที่มีจรรยามารยาท เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมตามคำสอนของศาสนา ไม่ใช่ประเภทสวิงริงโก้ เพราะแม้แต่มุสลิมะฮฺด้วยกัน นบียังให้เลือกเอาชนิดที่เอาศาสนา แล้วชนิดที่ห่างจากวงของอิสลามออกไป จะไปคว้าพวกกะเปิ๊บกะป๊าบมาได้ยังงัย

กระนั้นเศาะหาบะฮฺบางท่านยังไม่ชอบที่จะให้ไปแต่งกับหญิงอะฮฺลุลกิตาบด้วยเหตุผลที่อาจารย์อะสันแปลมาให้ฟังว่า “เกรงว่ามุสลิมอื่นๆ หันไปแต่งกับหญิงอะห์ลุ้ลกิตาบโดยกระทำตามและเลียนแบบท่านฮุซัยฟะห์และฏอลฮะห์ และจะละเลยไม่แต่งกับหญิงมุสลิม (มุสลิมะห์)”

ดังนั้นจะบอกว่าอายะฮฺหญิงอะฮฺลุลกิตาบในอัลมาอิดะฮฺมายกเลิกอายะฮฺหญิงมุชริกในอัลบะเกาะเราะฮฺ ก็เห็นจะไม่ถูกเสียทีเดียว น่าจะเรียกว่าเป็นข้อยกเว้นมากกว่า เพราะคำสั่งห้ามแต่งงานกับหญิงมุชริกก็ยังคงใช้บังคับอยู่จนวันกิยามะฮฺ และในส่วนของข้อยกเว้นให้แต่งกับหญิงอะฮฺลุลกิตาบได้ ก็ยังมีคำอธิบายเพิ่มเติมอีกว่า เมื่อพวกนางเข้ารับอิสลาม เพราะมีบางอายะฮฺบอกไว้ว่า

" وَإِنَّ مِنْ أَهْل الْكِتَاب لَمَنْ يُؤْمِن بِاَللَّهِ " [ آل عِمْرَان : 199 ]
" مِنْ أَهْل الْكِتَاب أُمَّة قَائِمَة " [ آل عِمْرَان : 113 ]
แท้จริงในหมู่อะฮฺลุลกิตาบนั้นมีผู้ที่ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ
ในหมู่อะฮฺลุลกิตาบนั้นมีกลุ่มหนึ่งที่ยืนหยัด


คำว่าศรัทธาต่ออัลลอฮฺก็ดี หรือยืนหยัดก็ดี หมายถึง ศรัทธาอย่างถูกต้องโดยไม่มีการตั้งภาคีใดๆต่อพระองค์ และยืนหยัดอยู่ในแนวทางอิสลาม ซึ่งก็คือรับอิสลามนั่นเอง

ดังนั้นรวมความแล้วก็คือ ถ้ายัง พระบิดา-พระบุตร-พระจิต อยู่ละก็..... อย่าแต่ง มิฉะนั้น มันจะลากท่านลงนรก....นะอูซุบิลลาฮฺ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
AlGhuraba
มือเก๋า
มือเก๋า


เข้าร่วมเมื่อ: 15/06/2004
ตอบ: 226


ตอบตอบ: Thu Sep 25, 2008 11:26 am    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote)

เอ้อ....แล้วทีนี้ก็เลยมีประเด็น
ในคำสั่งที่ห้ามนั้น บอกว่าห้ามแต่งกับมุชริก

ในสมัยนบี มีอยู่ 3 กลุ่ม คือ มุอ์มิน-ผู้ศรัทธา อะฮฺลุลกิตาบ-ผู้ได้รับคัมภีร์ และ มุชริก-ผู้ตั้งภาคี
ซึ่งกุฟฟารกุร็อยช์ก็คือมุชริกจังๆ รู้จักอัลลอฮฺแต่ก็ดันไปสักการะเทวรูปและเทพเจ้าจอมปลอมต่างๆ… พวกนี้แน่นอน ห้ามแต่ง
ส่วนอะฮฺลุลกิตาบ... ส่วนหนึ่งก็ปฏิเสธ (الَّذِينَ كَفَرُوا مِنْ أَهْل الْكِتَاب) และส่วนหนึ่งก็ศรัทธา (مِنْ أَهْل الْكِتَاب لَمَنْ يُؤْمِن بِاَللَّهِ) กลุ่มแรกยังคงเป็นที่ต้องห้าม ในขณะที่กลุ่มหลังเป็นที่อนุมัติ

มาในยุคนี้มันมีอีกประเภทนึง คือ ไม่เอาใครทั้งสิ้น ไม่มีเทพยดา ผีป่าซาตาน และก็ไม่เอาอัลลอฮฺด้วย ไม่ใช่มุชริกเพราะไม่ได้เอาอะไรมาเป็นภาคีต่ออัลลอฮฺ แต่เป็นพวกไม่มีศาสนา ที่แน่ๆคือจัดอยู่ในพวก “กาฟิร” เพราะปฏิเสธที่จะรับอัลลอฮฺเป็นเจ้า
ถามว่า มีคำสั่งตรงไหนที่บอกว่าห้ามแต่งงานกับ กาฟิร ในความหมายนี้ครับ
กลับไปข้างบน
แสดงข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก ส่งข่าวสารส่วนตัว
แสดงการตอบก่อนนี้:   
ตั้งกระทู้ใหม่   ตอบกระทู้    อนุรักษ์มรดกอิสลาม หน้ากระดานข่าวหลัก -> หลักความเชื่อ ปรับเวลา GMT + 7 ชั่วโมง
หน้า 1 จากทั้งหมด 1

 
ไปยัง:  
คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ใหม่ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลบการตอบกระทู้ของคุณในกระดานนี้
คุณ ไม่สามารถ ลงคะแนนในแบบสำรวจในกระดานนี้
คุณ สามารถ แนบไฟล์ในกระดานข่าวนี้
คุณ สามารถ ดาวน์โหลดไฟล์ในกระดานข่าวนี้


Powered by phpBB ฉ 2001, 2002 phpBB Group







ที่ตั้งมูลนิธิ


สำนักงาน มูลนิธิ อนุรักษ์มรดกอิสลาม
เลขที่ 27/5 หมู่ที่ 2 ถนนเลียบวารี แขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพฯ
ติดต่อ : 02-956-9860, 02-956-9958
E-mail : moradokislam@hotmail.com
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ในการนำไปเผยแพร่ในหนทางที่ถูกต้อง และควรระบุแหล่งที่มาของข้อมูล

PHP-Nuke Copyright © 2005 by Francisco Burzi. This is free software, and you may redistribute it under the GPL. PHP-Nuke comes with absolutely no warranty, for details, see the license.
การสร้างหน้าเอกสาร: 0.16 วินาที
IPBNukeRed theme by HOLBROOKau and
PHP-Nuke Thailand ©2004
เธ‚เธญเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธตเธซเธ™เนˆเธญเธขเธ„เธฃเธฑเธšเธชเธกเธฑเธ„เธฃเธ›เธธเนŠเธšเธฃเธฑเธšเธ›เธฑเนŠเธšเน„เธกเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธเธฒเธ เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เน‚เธšเธ™เธฑเธชเน„เธ”เน‰เน€เธ‡เธดเธ™เธˆเธฃเธดเธ‡ slot938 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaicasinobin เนเธˆเธเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธšเธฒเธ„เธฒเธฃเนˆเธฒ เธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ JQK41 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaibet55 kubet เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เนเธ—เธ‡เธšเธญเธฅ เธ‹เธญเธ„เน€เธเธญเธฃเนŒเธฅเธตเธ เธ„เธฐเนเธ™เธ™เธŸเธธเธ•เธšเธญเธฅ เน€เธงเน‡เธšเธžเธ™เธฑเธ™เธญเธฑเธ™เธ”เธฑเธš1 HUC99 เน€เธงเน‡เธšเธ•เธฃเธ‡ เน„เธกเนˆเธœเนˆเธฒเธ™เน€เธญเน€เธขเนˆเธ™เธ•เนŒ