ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป |
ผู้ส่ง |
ข้อความ |
อิควานคนเดิม มือใหม่
เข้าร่วมเมื่อ: 20/10/2006 ตอบ: 19
|
ตอบ: Sat Jan 27, 2007 11:49 am ชื่อกระทู้: การกอด-อกหลังเงยจากรุกัวะ |
|
|
ค่ะ การกอด-อกหลังเงยจากรุกัวะ เป็นทัศนะของอีหม่ามหรือเชคท่านใดบ้างค่ะ แล้วทัศนะของอุลามาอฺส่วนใหญ่เป็นอย่างไรค่ะ ขอบคคุณค่ะ
|
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Fri Feb 02, 2007 10:18 am ชื่อกระทู้: |
|
|
เช็คอิบนุอุษัยมีนกล่าวว่า
الذي يظهر أنّ السنة هو وضع اليمنى على ذراع اليسرى لعموم حديث سهل بن سعد الثابت في البخاري " كان الناس يُؤمرون أن يضع الرجل يده اليمنى على ذراعه اليسرى في الصلاة " فإنك إذا نظرت لعموم هذا الحديث " في الصلاة " ولم يقل في " القيام " تبيَّن لك أن القيام بعد الركوع يُشرع فيه الوضع ؛ لأنَّه في الصلاة تكون اليدان حال الركوع على الركبتين ، وفي حال السجود على الأرض ، وفي حال الجلوس على الفخذين ، وفي حال القيام ويشمل ما قبل الركوع وما بعد الركوع يضع الإنسان يده اليمنى على ذراعه اليسرى
هذا هو الصحيح
ที่ปรากฏชัดเจนว่า แท้จริงตามสุนนะฮนั้น คือ การวางมือขวาบนข้อศอกของมือซ้าย ตามความหมายกว้างๆ ของหะดิษ สะฮ บุตร สะอฺ ที่ปรากฏในอัลบุคอรี ระบุว่า "ปรากฏว่าบรรดาผู้คนได้ถูกใช้ คือ ให้วางมือขวาของเขาบนข้อศอกของเขา ข้างซ้าย ในละหมาด" ดังนั้น เมื่อท่านพิจารณาในความหมายโดยกว้างๆของคำว่า " ในละหมาด"(في الصلاة ) โดยไม่ได้กล่าวคำว่า "ในการยืน(في القيام ) ก็จะให้คำตอบที่ชัดเจนแก่ท่านว่า " การยืนหลังจากรุกัวะ ก็มีบัญญัติให้วาง(มือ)ในนั้น เพราะว่าในละหมาด ขณะที่รุกัวะ สองมือจะอยู่บนหัวเข่าทั้งสอง ,ในขณะสุญูด จะอยู่บนพื้น ,ในขณะนั่ง จะอยู่บนขาทั้งสอง และในขณะยืน โดยจะครอบคลุม สิ่งที่อยู่ก่อนรุกัวะและหลังจากรุกัวะ โดยวางมือขวางของเขาบนข้อศอกด้านซ้าย นี้คือ ความถูกต้อง
" الشرح الممتع " ( 3 / 146 ) . |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
IRF มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 10/12/2005 ตอบ: 155
|
ตอบ: Thu Mar 08, 2007 12:32 am ชื่อกระทู้: |
|
|
ก็เป็นทรรศนะเชคบินบาสเช่นเดียวกันครับ
แต่ที่มีน้ำหนักมากกว่าก็คงคิดว่าแบบที่พวกเราทำกันล่ะครับ คือปล่อยมือ |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
ชมพู่ มือใหม่
เข้าร่วมเมื่อ: 22/02/2007 ตอบ: 3
|
ตอบ: Thu Mar 08, 2007 10:14 am ชื่อกระทู้: |
|
|
เรื่องนี้ดิฉันขอแจมด้วยคนค่ะ
การยืนกอดอกหรือไม่กอดอกหลังจากรู่กั๊วขื้นมายืนตรง
จุดนี้ดิฉันไม่อยากให้นำมาเป็นประเด็นเลยค่ะ
เพราะต่างฝ่ายต่างอ้างหลักฐานบทเดียวกัน
แต่เข้าใจแตกต่างกันตรงคำสั่งที่ว่า อั้ลกี้ยาม(ยืนตรง) มากกว่า
กล่าวคือการยืนตรงในละหมาดด้องกอดอก
แต่ว่าการขื้นมายืนหลังจากรู่กั๊วจะฮู่ก่มอย่างไร?
บางกลุ่มถือว่า อั้ลกี้ยาม ก็กอดอก
บางกลุ่มถือว่าไม่ใช่ อั้ลกี้ยาม ก็ไม่กอดอก
ถ้าดิฉันเข้าใจผิดอย่างไรช่วยชี้แนะด้วยค่ะ |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Sat Mar 10, 2007 1:26 am ชื่อกระทู้: |
|
|
IRF บันทึก: | ก็เป็นทรรศนะเชคบินบาสเช่นเดียวกันครับ
แต่ที่มีน้ำหนักมากกว่าก็คงคิดว่าแบบที่พวกเราทำกันล่ะครับ คือปล่อยมือ |
..........
ครับถูกต้อง |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
อิลยาส มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 20/04/2005 ตอบ: 279
|
ตอบ: Sun Mar 11, 2007 6:12 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
อัสลามุอลัยกุม
1. อันนี้ต้องเข้าใจก่อนนะครับ..ว่าไม่ใช่ปัญหาใหญ่ของอะลุซซุนนะฮฺ ต้องเอาเป็นเอาตาย
2. ถ้ายังเข้าเข้าใจว่าเป็นทรรศนะของเชคบินบาซ..อันนี้ต้องคุยกันยาว 081-1111-33-2
3. ส่วนคนที่ปล่อยมือ..ต้องมีหลักฐานมานำเสนอนะคั๊บ..เพราะนักวิชาการเคยตอบโต้กันมาแร้ว
4. ส่วนให่ญปล่อยมือ..(ส่วนใหญ่ของใครครับ?)..นำหลักฐานมาด้วย..ถ้าจะปล่อย
5. ระหว่างปล่อยกับกอด..แต่ละด้าน หุกุ่มคืออะรัย?..
ถ้าหากไม่สามารถอิจติหาดได้..ก้อเปน มุกอลลิด
ฉะนั้นถูกผิด..ยังไม่ใช่ประเดน..
แต่หลักการที่จะเอา.มาใช้ปติบัติ..ที่มาที่ไปต้องแจงออกมาได้นะคั๊บ
ในฐานะนักศึกษาถ้าจะคุยกัน..ยินดีนะคั๊บ..(บอร์ดเก่าน่าจะเข้าไปดูกัน)
อัสลามุอลัยกุม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
|