ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป |
ผู้ส่ง |
ข้อความ |
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Sat Jul 06, 2013 11:00 am ชื่อกระทู้: เอียะรอบมัตนุอัลอาญุรูมียะฮ |
|
|
จุดประสงค์ในการเปิดกระทู้วิชานี้ ผู้เขียนต้องการจะฟื้นฟูและทบทวนวิชานะหฮู แก่ตนเองเท่านั้น หากมีข้อผิดพลาด หวังว่า ผู้รู้และเชียวชาญวิชานี้ แนะนำและติติง เพื่อจะได้ปรับปรุงต่อไป
ِ
اَلْكَلَامُ : هو اَللَّفْظُ اَلْمُرَكَّبُ, اَلْمُفِيدُ بِالْوَضْعِ
Al kalam ialah Lafadz yang tersusun lagi berfaedah menurut bahasa arab
อัลกะลาม(ประโยค)คือ คำที่ถูกประกอบขึ้น มีปรโยชน์(หมายถึงทำให้ผู้ฟังเข้าใจ) ด้วยภาอาหรับ
اللفظ : هو الصوت المشتمل على بعض الحروف الهجائية
อัลลัฟซุ (คำ) คือ เสียงที่ถูกประกอบขึ้นบน บางส่วนของพยัญชนะสะกด
، والمركب ما تركب من كلمتين فأكثر
อัลมุรอ็กกับ คือ สิ่งที่ถูกประกอบขึ้น จากสองคำหรือมากกว่านั้น
،المفيد
ما أفاد فائدة تامة بحيث يحسن سكوت من المتكلم وسامع عليها
อัลมุฟีด คือ สิ่งให้ประโยชน์/ให้ความหมายสมบูรณ์ โดยที่การหยุดของผู้พูดและผู้ฟัง บนมันเกิดความสวยงาม (หมายถึงเมื่อผู้พูด พูดจบ ผู้ฟังก็เข้าใจ)
بالوضع : أي بالعربي .
บิลวัฎอิ หมายถึง ด้วยภาษาอาหรับ
เอียะรอบ
(الكلام) مبتدأ وهو مرفوع بالإبتداء وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره.
อัลกะลาม เป็นมุบตะดาอฺ และมันถูกอ่านรอฟอุน ด้วยเหตุของการเริ่มต้นประโยค และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมันคือ สระฎอมมะฮ ที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของคำ
هو) ضمير فصل لا موضع لها من الإعراب.
คำว่า ฮุวะ เป็นสรรพนามที่แยกออกมา(ไม่เติมท้ายคำอื่น บางที่เรียกว่า เฎาะมีรมุงฟะศิลุน) ไม่มีที่เอียะรอบสำหรับมัน
(اللفظ) خبر المبتدأ وهو مرفوع بالمبتدأ وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره. والجملة من المبتدأ والخبر لا محل لها من الإعراب جملة مستأنفة.
อัลลัฟซุ เป็นเคาะบัร มุบตะดาอฺ และมันถูกอ่านรอฟอุน ด้วยมุบตะดาอฺ และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมัน คือ สระฎอมมะฮ ปรากฏที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน และประโยค จาก(หมายถึงที่ประกอบด้วย) มุบตะดาอฺ(ประทานของนามานุประโยค) และเคาะบัร(ภาคแสดงในนามานุประโยค) ไม่มีที่เอียะรอฟสำหรับมัน เป็นประยุคที่ถูกให้เริ่มต้นใหม่(ญุมละฮมุสตะนะฟะฮ)
المركب) نعت أول للفظُ، ونعت المرفوع مرفوع وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره
อัลมุรอ็กกับ - เป็นนะอฺตุน(คำที่ทำหน้าที่คุณศัพท์)คำที่แรกของคำว่า อัลลัฟซุ และคำอัลนะอตุ(ที่ทำหน้าที่อธิบายลักษณะ) ของคำที่ถูกอ่านรอฟอุน ก็ถูกอ่านรอฟอุน(เช่นกัน)และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมัน คือ สระฎอมมะฮ ปรากฏที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของคำ
المفيد) نعت ثان للفظُ، ونعت المرفوع مرفوع وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره
อัลมุฟีด เป็นคำที่ทำหน้าที่นะอฺตุน คำที่สองของคำว่า อัลลัฟซุและ คำอัลนะอตุ(ที่ทำหน้าที่อธิบายลักษณะ) ของคำที่ถูกอ่านรอฟอุน ก็ถูกอ่านรอฟอุน(เช่นกัน)และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมัน คือ สระฎอมมะฮ ปรากฏที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของคำ
بالوضع) الباء حرف جر، الوضعِ مجرور بالباء وعلامة جره كسرة ظاهرة في آخره. الجار والمجرور متعلق بالمفيدُ
บิลวัฎอิ บา เป็นคำบุพบท ,อัลวัฎอิ ถูกอ่านญัรด้วย บา(ที่เป็นคำบุพบท) และเครื่องหมายการอ่านญัรของมันคือ สระกัสเราะฮ ปรากฏที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของคำ และ คำบุพบท(ฮัลญัร)และกรรมของบุพบท(อัลมัจญรูร ถูกให้สัมพันธ์ ด้วยคำว่า อัลมุฟีด
หมายเหตุ
Preposition แปลว่า คำบุพบท ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง นามหรือสรรพนาม กับคำอื่น ๆ ในประโยค
وَأَقْسَامُهُ ثَلَاثَةٌ : إِسْمٌ وَفِعْلٌ وَحَرْفٌ جَاءَ لِمَعْنًى
Adapun Kalam itu terbagi menjadi tiga Bagian :
Isim (kata nama)Fiil (Kata kerja) Dan Huruf yang datang bagi makna
กะลาม แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท
หนึ่ง : อิสมุน (คำนาม)
สอง : เฟียะลุน (คำกริยา)
สาม : หัรฟุน ที่มีความหมาย (เช่น คำบุพบท .คำสันธาน เป็นต้น
หมายเหตุ- คำว่า คำพูด แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท หมายถึง คำที่เป็นส่วนประกอบของคำพูด หรือประโยค แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท เพราะถ้าแปลว่า ประโยค แบ่งออกเป็นสามประเภท ย่อมไม่ถูกต้อง (ทัศนะผู้แปล ครับ พี่นองแนะนำได้ครับ
นิยามคำทั้งสาม
الأول : الاسم ، وهو كلمة دلَّت على معنى في نفسها ولم تقترن بزمان .
หนึ่ง : อัลอิสมุ (คำนาม) คือคำที่แสดงบอกความหมาย ในตัวของมัน และไม่เกี่ยวข้องกับการเวลา
الثاني : الفعل ، وهو كلمة دلت على معنى في نفسها واقترنت بزمان .
สอง : อัลเฟียะลุ (คำกริยา)คือ คือคำที่แสดงบอกความหมาย ในตัวของมัน และเกี่ยวข้องกับการเวลา
[الثالث الحرف وهو كلمة دلَّت على معنى في غيرها
สาม : อัลหัรฟุ (คำย่อย) คือคำที่แสดงบอกความหมายในคำอื่นจากมัน (หมายถึงคำที่มีความหมายไม่ชัดเจนนอกจากประกอบกับคำอื่น)
หมายเหตุ คำว่า อัลหัรฟุ ในภาษาอังกฤษ คือ particle หมายถึงคำที่ไม่เป็นส่วนสำคัญของภาษา ผมจึงแปลว่า คำย่อย
เอียะรอบ
(وأقسامه) الواو حرف عطف، أقسامُ مبتدأ وهو مرفوع بالإبتداء وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره. أقسامُ مضاف، والهاء ضمير متصل مضاف إليه مبني على الضم في محل جر لأنه إسم مبني لا يظهر فيه إعراب
วะอักสามุฮุ : วาว เป็นคำสันธาน คำว่า อักสามุ เป็นมุบตะดาอฺ และมันถูกอ่านรอฟอุน ด้วยเหตุการเริ่มต้นประโยค และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมัน คือ สระฎอมมะฮ ปรากฏในพยัญชนะตัวสุดท้ายของคำ ,คำว่า อักสามุ เป็นมุฎอฟ (คือคำที่ถูกนำไปสนธิกับคำอื่น) และ ฮาอฺ เป็นเฎาะมีรมุตตะศิล (สรรพนามที่ถูกนำมาเติมท้ายคำอื่น หรือปัจจัยสรรพนาม) ทำหน้าที่เป็นมุฎอฟุน อิลัยฮิ(คำที่คำอื่นถูกนำมาสนธิกับมัน) ถูกอ่านบินาอฺ บนสระฎอมมะฮ อยู่ในตำแหน่งการอ่านญัร เพราะมันเป็นคำนาม ที่ถูกอ่านมับนีย์ การเอียะรอบไม่ปรากฏในมัน
(ثلاثة) خبر المبتدأ وهو مرفوع بالمبتدأ وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره. والجملة من المبتدأ والخبر لا محل لها من الإعراب معطوف على جملة قوله الكلامُ هو اللفظُ
ษะลาษะตุน : ทำหน้าที่เคาะบัรของมุบตะดาอฺ และมัน ถูกอ่านรอฟอุน ด้วย มุบตะดาอฺ และเครื่องหมายของการอ่านรอฟอุนของมัน คือ สระฎอมมะฮ ปรากฏในพยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน (ของคำ) และประโยค จากคำที่ทำหน้าที่มุบตะดาอฺและเคาะบัร ไม่มีตำแหน่งเอียะรอบสำหรับมัน และเป็นคำที่ถูกให้สันพันธ์/หรือถูกเชื่อม บนประโยคที่ว่า อัลกะลามุ ฮุวัลลัฟซุ
اسم) بدل من ثلاثةٌ بدل البعض من الكل، وبدل المرفوع مرفوع وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره.
อิสมุน(คำนาม) : ทำหน้าที่เป็นบะดัล(คำที่ทำหน้าที่ขยายความคำนามหรือคำสรรพนาม (apposition) จากคำว่า ษะลาษะตุน บะดะลุลบะอฺฎิ มินัลกุลลิ(หมายถึงขยายความส่วนหนึ่ง จากทั้งหมด)และบะดัลของคำที่ถูกอ่านรอฟอุน ก็ถูกอ่านรอฟอุน ด้วย และเครื่องหมายของการอ่านรอฟอุนของมันคือ สระฎอมมะฮ ปรากฏใน/ที่ปยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน
(وفعل) الواو حرف عطف، فعلٌ معطوف على اسمٌ والمعطوف على المرفوع مرفوع وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره.
วะเฟียะลุน : วาว เป็นคำสันธาน ,คำว่า เฟียะลุน ถูกให้สัมพันธบน คำว่า อิสมุนและคำที่ถูกให้สัมพันธ์/หรือเชื่อม บนคำที่ถูกอ่าน รอฟอุน ก็ถูกอ่านรอฟอุนด้วย และเครื่องหมายการอ่านรอฟของมัน คือ สระฎอมมะฮ ปรากฏใน/ที่ปยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน
อินชาอัลลอฮ มีต่อ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม
แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย asan เมื่อ Sat Jul 06, 2013 10:55 pm, แก้ไขทั้งหมด 2 ครั้ง |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Sat Jul 06, 2013 10:51 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
ต่อ
(وحرف) الواو حرف عطف، حرفٌ معطوف على اسمٌ والمعطوف على المرفوع مرفوع وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره.
วะหัรฟุน : วาว เป็นคำสันธาน คำหัรฟุน ถูกให้เชื่อมโยง บนคำอิสมุน คำนาม และคำที่ถูกให้เชี่ยมโยงบนคำที่ถูกอ่านรอฟอุนนั้น ถูกอ่านรอฟอุนด้วย และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมัน คือสระฎอมมะฮ ปรากฏที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน
(جاء) فعل ماض مبني لمعلوم وهو مبني على الفتح لا موضع لها من الإعراب. والفاعل ضمير مستتر فيه جوازا تقديره هو يعود على حرفٌ. والجملة من الفعل والفاعل في محل رفع نعت لحرفٌ.
ญาอะ : เป็นคำกริยา อดีตกาล ถูอ่านบินาอฺ เพราะ เป็นคำมะลูม (หมายถึงกริยารรตุการก) และมันถูกอ่านบินาอฺ บน สระฟัตหะฮ ไม่มีตำแหน่งเอียะรอบสำหรับมัน และ ประธาน คือ สรรพนามที่ถูกซ่อนไว้ในมัน อนุญาต ให้กำหนดมันว่า ฮุวะ ย้อนกลับไปยัง คำว่าหัรฟุน และประโยค ที่ประกอบด้วย คำกริยาและประธาน อยู่ในตำแหน่งการอ่านรอฟอุน เป็นนะอฺตุน(คำคุณศัพท์บอกลักษณะ) ของคำว่าหัรฟุน
(لمعنى) اللام حرف جر، معنىً مجرور باللام وعلامة جره كسرة مقدرة على آخره منع من ظهورهاا لتعذر، الجار والمجرور متعلق بجاء
ลิมะอฺนัน : ลาม คือ คำบุพบท คำว่า มะอฺนัน ถูกอ่านญัรด้วยลาม และเครื่องหมายของการอ่านญัรของมัน คือ สระกัสเราะฮ ถูกกำหนดให้อยู่บน พยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน ถูกห้ามจากการแสดงให้มันปรากฏ เพราะเหตุสุดวิสัย ,ญาร(คำสันธาน)และ มัจญรูร (คำนามที่ทำหน้าที่กรรมของบุพบท) ถูกให้สัมพันธ์ ด้วย คำว่า ญาอะ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Tue Jul 09, 2013 11:25 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
فَالْاِسْمُ يُعْرَفُ بِالْخَفْضِ وَالتَّنْوِينِ وَدُخُوْلِ الأَلِفِ وَالَّلامِ وَحُرُوفِ الْخَفْضِ وَهِيَ مِنْ وَإِلَى وَعَنْ وَعَلَى وَفِيْ وَرُبَّ وَالْبَاءُ وَالْكَافُ وَالَّلامُ وَحُرُوْفُ القَسَمِ وَهِيَ الْوَاوُ وَالْبَاءُ وَالتَّاءُ
ดังนั้น คำนาม ถูกให้รู้จักด้วย การอ่านเคาะฟัฎ,สระตันวีน ,การเข้าไป(การเริ่มต้น)ของอะลิฟและลาม และบรรดาหุรุฟเคาะฟัฎ คือ คำว่า ฮิยะ ,มิน ,อิลา ,อัน ,อะลา ,ฟี ,รุบบะ ,บาอฺ, กาฟและลาม และบรรดาหุรูฟเกาะสัม(บรรดาคำทีแสดงบอกการสาบาน) คือ วาว , บาอฺ และ ตาอฺ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Tue Jul 16, 2013 11:29 am ชื่อกระทู้: |
|
|
เอียะรอบ
فالاسم) الفاء فاء الفصيحة، وضابتها أن تقع في جواب شرط مقدر وتقديره إذا أردت أن تعرف بيان كل من هذه الثلاثة فأقول لك الاسمُ. الإسمُ مبتدأ وهو مرفوع بالإبتداء وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره.
ฟัลอิสมุ : ฟา คือฟาอุลฟะศีหะฮ(คือ อักษรฟา ที่แสดงความชัดเจน คำที่อยู่ก่อนที่ถูกละไว้) และกฎของมัน ปรากฏอยู่ในการตอบรับประโยคเงื่อนไข ที่ถูกกำหนด/หรือถูกสมมุติขึ้น และสมมุติมันว่า เมื่อท่านต้องการที่จะรู้จัก การอธิบาย ทั้งหมดจากสามประการนี้ ฉันก็จะกล่าวแก่ท่านว่า อัลอิสมุ... คำว่า อัลอิสมุ เป็น คำอัลอิสมุ (คำนาม) ทำหน้าที่มุบตะดา และมันถูกอ่านรอฟอุน ด้วยเหตุจากการเริ่มต้น และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมันคือ สระฎอมมะฮ ปรากฏที่พยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน
يعرف) فعل مضارع مبني لمجهول وهو مرفوع لتجرده عن الناصب والجازم وعلامة رفعه ضمة ظاهرة في آخره. ونائب الفاعل ضمير مستتر فيه جوازا تقديره هو يعود على الإسمُ. والجملة من الفعل ونائب الفاعل في محل رفع خبر المبتدأ.
ยุเราะฟุ : เป็นคำกริยาปัจจุบันกาล ถูกอ่านบินาอฺ สำหรับมัจญฮูล ( รูปแบบกริยากรรมวาจก) และมันถูกอ่านรอฟอุน เพราะการเป็นอิสระของมันจากการอ่านนาศับและอ่านญะซัม และเครื่องหมายการอ่านรอฟอุนของมันคือ สระฎอมมะฮ ปรากฏในพยัญชนะตัวสุดท้ายของมัน และ นาอิบลฟาอีล(ประธานกริยากรรมวาจก) คือ สรรพนามที่ถูกซ่อนเร้น อนุญาตสมมุติมันว่า ฮุวะ กลับไปยังคำว่า อัลอิสมุ(หมายถึงสรรพนามแทนคำอัลอิสมุ) และประโยค จากคำกริยาและประธานกริยากรรมวาจก(นาอิบุลฟาอีล) อยู่ในตำแหน่งการอ่านรอฟอุน ทำหน้าที่เคาะบะรุลมุบตะดาอฺ
เพิ่มเติม
(والتنوين) الواو حرف عطف، التنوينِ معطوف على الخفضِ والمعطوف على المجرور مجرور وعلامة جره كسرة ظاهرة في آخره
วัตตันวีน : วาว คือ คำสันธาน .คำว่า อัตตันวีน ถูกเชื่อมโยง บน คำว่า ว่า อัลคอฎฎุ และคำที่ถูกเชื่อมโยงบนคำที่ถูกอ่านญัรนั้น ก็ถูกอ่านญัรด้วย และเครื่องงหมายการอ่านญัรของมันคือ สระกัสเราะฮ ปรากฏ ในพยัญชะตัวสุด้ายของมัน
ودخول) الواو حرف عطف، دخولِ معطوف على الخفضِ والمعطوف على المجرور مجرور وعلامة جره كسرة ظاهرة في آخره. دخولِ مضاف،
วะดุคูลิ : วาว คือ คำสันธาน .คำว่า ดุคูลุ ถูกเชื่อมโยง บน คำว่า ว่า อัลคอฎฎุ และคำที่ถูกเชื่อมโยงบนคำที่ถูกอ่านญัรนั้น ก็ถูกอ่านญัรด้วย และเครื่องงหมายการอ่านญัรของมันคือ สระกัสเราะฮ ปรากฏ ในพยัญชะตัวสุด้ายของมันและคำว่า ดุคูลิ คือ มุฎอฟ (คำที่ถูกนำไปสนธิกับคำอื่น)
(الألف) مضاف إليه وهو مجرور بالمضاف وعلامة جره كسرة ظاهرة في آخره.
อัลอะลิฟ : คือ คำที่ทหน้าที่มุฎอฟุลอิลัยฮิ(คำที่คำอื่นถูกให้สนธิกับมัน)และ มันถูกอ่านญัรด้วยคำที่ทำหน้าที่มุฎอฟ และเครื่องหมายการอ่านญัรของมันคือ สระกัสเราะฮ ปรากฏ ในพยัญชะตัวสุด้ายของมัน _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
|