ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป |
ผู้ส่ง |
ข้อความ |
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Wed Oct 17, 2012 8:53 am ชื่อกระทู้: |
|
|
หะดีษมุนกัร เป็นหะดีษที่มีนิยามละเอียดอ่อน สิ่งที่คุณอะสัน และคุณอัซซุนนะฮ์นำเสนอ ถือว่า เป็นนิยามของหะดีษมุนกัร แต่ที่คุณอัซซุนนะฮ์นิยามมานั้น อาจตกหล่นไปบ้าง(ในบางมุมของนักวิชาการ) นั่นคือ มุนกัร หมายถึงหะดีษที่ผู้รายงานมันเป็นผู้อ่อนแอ และไปขัดกับผู้รายงานที่น่าเชื่อถือ(นี่คืออีกนิยามหนึ่ง) สรุปว่า นิยามที่ถูกนำมาตรงนี้ โอเคครับ
....... แต่นิยามของมุนกัรในมุมนักวิชาการหะดีษนั้น มีมากกว่านี้ ขึ้นอยู่กับผู้ใช้และสถานการณ์ |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Wed Oct 17, 2012 11:27 am ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | หะดีษมุนกัร เป็นหะดีษที่มีนิยามละเอียดอ่อน สิ่งที่คุณอะสัน และคุณอัซซุนนะฮ์นำเสนอ ถือว่า เป็นนิยามของหะดีษมุนกัร แต่ที่คุณอัซซุนนะฮ์นิยามมานั้น อาจตกหล่นไปบ้าง(ในบางมุมของนักวิชาการ) นั่นคือ มุนกัร หมายถึงหะดีษที่ผู้รายงานมันเป็นผู้อ่อนแอ และไปขัดกับผู้รายงานที่น่าเชื่อถือ(นี่คืออีกนิยามหนึ่ง) สรุปว่า นิยามที่ถูกนำมาตรงนี้ โอเคครับ
....... แต่นิยามของมุนกัรในมุมนักวิชาการหะดีษนั้น มีมากกว่านี้ ขึ้นอยู่กับผู้ใช้และสถานการณ์ |
แล้วมีนักหะดิษท่านใดบ้างครับ อนุญาตให้เอาหะดิษมุงกัรมาใช้ในเรื่อง หุกุมต่างๆในศาสนา _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Wed Oct 17, 2012 2:49 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
ผมมิได้รับรองว่า หะดีษมุงกัร เชื่อถือได้ ในมุมกว้างๆแล้ว หะดีษมุงกัร คือหะดีษดออีฟ นอกจากในบางมุม เช่นมุมของอิหม่ามอะห์หมัด ท่านมองว่า หะดีษมุงกัรคือหะดีษที่มาจากผู้รายงานเพียงคนเดียว(ไม่ว่าผู้รายงานท่านนั้นจะเชื่อถือได้หรือไม่ก็ตาม) ดังนั้นหะดีษมุงกัรในมุมของอิหม่ามอะห์หมัด มีทั้งดออีฟ และ ไม่ดออีฟ ครับ |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Wed Oct 17, 2012 9:27 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | ผมมิได้รับรองว่า หะดีษมุงกัร เชื่อถือได้ ในมุมกว้างๆแล้ว หะดีษมุงกัร คือหะดีษดออีฟ นอกจากในบางมุม เช่นมุมของอิหม่ามอะห์หมัด ท่านมองว่า หะดีษมุงกัรคือหะดีษที่มาจากผู้รายงานเพียงคนเดียว(ไม่ว่าผู้รายงานท่านนั้นจะเชื่อถือได้หรือไม่ก็ตาม) ดังนั้นหะดีษมุงกัรในมุมของอิหม่ามอะห์หมัด มีทั้งดออีฟ และ ไม่ดออีฟ ครับ |
ใหนละครับทัศนะของอิหม่าอะหมัดส่วนที่ว่า หะดิษมุงกัร ไม่เฎาะอีฟ คุณนำเสนอคำพูดของท่านมา พร้อมคำแปล และที่มาให้คนอื่นเขาได้ศึกษา มันเปลืองเนื้อที่ที่อ้างลอยๆ และผมไม่อยากเสียเวลาต่อปากต่อคำ พูดกันไป พูดกันมา มีแต่น้ำ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 7:05 am ชื่อกระทู้: |
|
|
................จริงๆเรื่องนี้เป็นที่รู้กันดีในหมู่ผู้ศึกษาหะดีษ แต่ถ้าคุณอะสันไม่ทราบก็ติดตามจากลิงก์นี้ครับ
http://www.dorar.net/book_end/11068
ผมขอคัดส่วนจากตรงนั้นเพื่อความกระชับที่ตรงจุด ดังนี้ครับ
3- قد يُحكم على تفرد الراوي الثقة أو الصدوق بأنه منكر، وممن وجدته حكم على هذه الصورة بالنكارة من النقاد: يحيى القطان في حديث رقم (9، 176) وعبد الرحمن بن مهدي في حديث رقم (9، 90)، ومعاذ بن معاذ في حديث رقم (176)، وأحمد بن حنبل في أحاديث (1-23)، ويحيى بن معين في رقم (11)، والبخاري في رقم (75)
(บทส่งท้ายหนังสือ الحديث المنكر عند نقاد الحديث มีจุดสำคัญ ดังนี้)
สาม.... จะถูกนำไปตัดสินกรณีที่ผู้รายงานรายงานแต่เพียงผู้เดียว โดยเขาซิเกาะฮ์(เชื่อถือได้) หรือเซาะดู๊ก(ไม่พูดเท็จ) ว่า เขาเป็น มุงกัร ส่วนหนึ่งจากบุคคลที่เป็นนักวิเคราะห์หะดีษที่ข้าพเจ้าพบการตัดสินรูปการณ์นี้ว่าเป็นมุงกัร คือ ยะห์ยาอัลกอตตอน ในหะดีษลำดับที่ (9، 176) - อับดุรเราะห์มาน บุตร มะฮ์ดี ในหะดีษลำดับที่ (9، 90) - และมุอ๊าซ บุตร มุอ๊าซ ในหะดีษลำดับที่ (176) - อะห์หมัด บุตร ฮำบัล ในหะดีษหลายบท (1-23) - ยะห์ยา บุตร มะอีน ลำดับที่ 11 - อัลบุคอรี ลำดับที่ 75
................ ตามลิงก์นั้นมีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ มุงกัร พอสมควร ท่านใดสนใจเชิญเข้าชมได้เลยครับ |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 9:51 am ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | ................จริงๆเรื่องนี้เป็นที่รู้กันดีในหมู่ผู้ศึกษาหะดีษ แต่ถ้าคุณอะสันไม่ทราบก็ติดตามจากลิงก์นี้ครับ
http://www.dorar.net/book_end/11068
ผมขอคัดส่วนจากตรงนั้นเพื่อความกระชับที่ตรงจุด ดังนี้ครับ
3- قد يُحكم على تفرد الراوي الثقة أو الصدوق بأنه منكر، وممن وجدته حكم على هذه الصورة بالنكارة من النقاد: يحيى القطان في حديث رقم (9، 176) وعبد الرحمن بن مهدي في حديث رقم (9، 90)، ومعاذ بن معاذ في حديث رقم (176)، وأحمد بن حنبل في أحاديث (1-23)، ويحيى بن معين في رقم (11)، والبخاري في رقم (75)
(บทส่งท้ายหนังสือ الحديث المنكر عند نقاد الحديث มีจุดสำคัญ ดังนี้)
สาม.... จะถูกนำไปตัดสินกรณีที่ผู้รายงานรายงานแต่เพียงผู้เดียว โดยเขาซิเกาะฮ์(เชื่อถือได้) หรือเซาะดู๊ก(ไม่พูดเท็จ) ว่า เขาเป็น มุงกัร ส่วนหนึ่งจากบุคคลที่เป็นนักวิเคราะห์หะดีษที่ข้าพเจ้าพบการตัดสินรูปการณ์นี้ว่าเป็นมุงกัร คือ ยะห์ยาอัลกอตตอน ในหะดีษลำดับที่ (9، 176) - อับดุรเราะห์มาน บุตร มะฮ์ดี ในหะดีษลำดับที่ (9، 90) - และมุอ๊าซ บุตร มุอ๊าซ ในหะดีษลำดับที่ (176) - อะห์หมัด บุตร ฮำบัล ในหะดีษหลายบท (1-23) - ยะห์ยา บุตร มะอีน ลำดับที่ 11 - อัลบุคอรี ลำดับที่ 75
................ ตามลิงก์นั้นมีความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ มุงกัร พอสมควร ท่านใดสนใจเชิญเข้าชมได้เลยครับ |
.............
คุณ อับดุฮ อ้างมามี ชื่ออิหม่ามบุคอรีด้วย ความจริง คุณอับดุฮจะต้องให้รายละเอียดมากกว่านี้ โพสต์แบบนี้ผู้อ่านคงมึน
มาดูคำพูดของอิหม่ามบุคอรีชัดๆนะครับ
อิหม่ามอัซซะฮะบีย์ กล่าวไว้ใน ตัรญุมะฮ อาบาน บิน ญิบละฮ อัลกุฟีย์ ว่า
وقال البخاري : منكر الحديث . ونقل ابن القطان أن البخاري قال : كل من قلت فيه منكر الحديث فلا تحل الرواية عنه .ا.هـ.
และอัลบุคอรีได้ กล่าวว่า "มุงกะรุลหะดิษ และ อิบนุอัลกอ็ฏฏอน ได้รายงานว่า แท้จริง อัลบุคอรี ได้กล่าวว่า "ทุกๆคนที่ข้าพเจ้ากล่าวเกี่ยวกับเขาว่า มุงกะรุลหะดิษ ดังนั้น การรายงาน(หะดิษ)จากเขาผู้นั้นไม่อนุญาต - ดู อัลมีซาน ของอิหม่ามอัซซะฮะบีย์ เล่ม 1 หน้า 6
คุณอับดุฮ จะอ้างลอยๆไม่ได้ต้องชัดเจนว่าความจริง อิหม่ามอะหมัดกล่าวไว้อย่างไร _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
abdooh มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 08/06/2012 ตอบ: 188
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:23 am ชื่อกระทู้: |
|
|
ผมไม่ได้อ้างแม้แต่อักษรเดียวครับ ทั้งหมดเป็นการถ่ายทอดจากนักวิชาการหะดีษทั้งสิ้น คุณอะสันลิงก์ไปที่นั่น แล้วค้นดูจากหนังสือเล่มนั้นได้เลยครับ ชัดเจนครับ |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Thu Oct 18, 2012 10:43 am ชื่อกระทู้: |
|
|
abdooh บันทึก: | ผมไม่ได้อ้างแม้แต่อักษรเดียวครับ ทั้งหมดเป็นการถ่ายทอดจากนักวิชาการหะดีษทั้งสิ้น คุณอะสันลิงก์ไปที่นั่น แล้วค้นดูจากหนังสือเล่มนั้นได้เลยครับ ชัดเจนครับ |
ผมไม่ได้ว่าอะไรนี่ครับ เพียงแต่บอกว่า คุณน่าจะเอาคำพูดอิหม่ามอะหมาดมาอธิบายว่า การใช้คำว่ามุงกะรุลหะดิษของท่านนั้น ท่านหมายความว่าอย่างไร จะได้ไม่สับสน _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Mon Apr 15, 2013 11:31 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
อัลมุบาเราะกะฟูรีย์ ได้อธิบายว่า
وقول الأعمى (( فادعه )) دليل واضح وبرهان راجح على أن التوسل كان بدعائه لا بنفس ذاته المطهرة عليه الصلاة والسلام ، وقوله (( إني توجهت بك إلى ربي )) قال الطيبي : الباء في (( بك )) للاستعانة ، أي استعنت بدعائك إلى ربي
และคำพูดของชายตาบอดที่ว่า "(จงดุอาต่อพระองค์เถิด) เป็นหลักฐานชัดเจน และเป็นข้อพิสูจน์ ที่มีน้ำหนัก ที่แสดงว่า แท้จริงการตะวัสซุลนั้น ปรากฏด้วยการดุอาของเขา(ของท่านนบี) ไม่ใช่ด้วยตัวตนของท่านนบีที่บริสุทธ์ และคำพูดของเขาที่ว่า( แท้จริงข้าพเจ้าขอมุ่งปรารถนาด้วยกับท่านไปยังผู้อภิบาลของข้าพเจ้า ) อัฏฏอ็ยบีย์กล่าวว่า อับษรบาอฺ ในคำว่า (บิกะ) คือ บาลิลอิสติอานะฮ คือ ข้าพระองค์ขอความช่วยเหลือด้วยดุอาของท่าน ไปยังพระผู้อภิบาลของข้าพเจ้า - ดูตะหฟะตุลอะหวะซีย์ ชัรหุสุนันอัตติรมิซีย์ เล่ม 10 หน้า 25 อธิบายหะดิษ เฎาะรีร (ชายตาบอด)
.......
จึงชัดเจนว่า ชายตาบอด ตะวัสสุลด้วยดุอานบี ไม่ใช่ด้วยตัวตนนบี และเรื่องนี้เป็นเรื่อง เฉพาะสำหรับชายตาบอดคนนั้นกับนบี เพราะไม่ปรากฏว่า มีบรรดาคนตาบอดอื่นๆมาขอตะวัสซุลกับนบี เพื่อให้หายจากตาบอดเลย _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Tue Apr 16, 2013 8:32 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
เพิ่มเติม
เช็คบินบาซ(ขออัลลอฮเมตตาต่อท่าน)กล่าวว่า
لا يجوز التبرك بأحد غير النبي صلى الله عليه وسلم لا بوضوئه ولا بشعره ولا بعرقه ولا بشيء من جسده، بل هذا كله خاص بالنبي صلى الله عليه وسلم لما جعل الله في جسده وما مسه من الخير والبركة.
ไม่อนุญาตให้ตะบัรรุก(การขอให้ได้รับความจำเริญ) ด้วยคนหนึ่งคนใด อื่นจากนบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไม่ว่าจะด้วยน้ำละหมาดของเขา, ด้วยเส้นผมของเขา ,ด้วยเหงื่อของเขา และไม่ว่าจะด้วยสิ่งใดๆจากร่างกายของเขา แต่ทว่า ทั้งหมดนี้ เป็นกรณีเฉพาะ กับ นบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม สำหรับสิ่งที่อัลลอฮทรงบรรดาลให้เกิดขึ้นในรางกายของนบี และสิ่งที่พระองค์ทรงให้สัมผัส(ให้เกิดขึ้น)แก่ท่านนบี จากความดีงานและความจำเริญ
ولهذا لم يتبرك الصحابة رضي الله عنهم بأحد منهم، لا في حياته ولا بعد وفاته صلى الله عليه وسلم لا مع الخلفاء الراشدين ولا مع غيرهم فدل ذلك على أنهم قد عرفوا أن ذلك خاص بالنبي صلى الله عليه وسلم دون غيره، ولأن ذلك وسيلة إلى الشرك وعبادة غير الله سبحانه، وهكذا لا يجوز التوسل إلى الله سبحانه بجاه النبي صلى الله عليه وسلم أو ذاته أو صفته أو بركته لعدم الدليل على ذلك؛ ولأن ذلك من وسائل الشرك به
และเพราะเหตุนี้ บรรดาเศาะหาบะฮ (ร.ฎ)จะไม่ตะบัรรุก ด้วยคนหนึ่งคนใดจากพวกเขา ไม่ว่าในยามที่นบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม มีชีวิตอยู่ และหลังจากที่ท่านเสียชีวิตไปแล้ว ไม่ว่าจะพร้อมกับบรรดาเคาะลิฟะฮอัรรอชิดีน และอื่นจากพวกเขาก็ตาม ดังกล่าวนั้น แสดงให้เห็นว่า พวกเขารู้ว่า ดังกล่าวนั้น เป็นสิ่งที่เฉพาะเป็นพิเศษ กับนบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เท่านั้น ไม่ใช่คนอื่นจากท่านนบี และเพราะดังกล่าวนั้นเป็นสื่อนำไปสู่การทำชิริก และการอิบาดะฮต่ออื่นจากอัลลอฮ (ซ.บ) และในทำนองเดียวกันนี้ ไม่อนุญาตให้ตะวัสซุลต่ออัลลอฮตะอาลา (ดุอาต่ออัลลอฮโดยใช้สื่อกลาง) ด้วยเกียรติของ นบี ศอ็ลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม หรือ ตัวตนของท่าน หรือ คุณลักษณะของท่าน หรือบะเราะกัตของท่าน เพราะไม่มีหลักฐาน บ่งบอกบนการกระทำดังกล่าว และเพราะ การกระทำดังกล่าวนั้น เป็นสว่นหนึ่งจากสื่อที่นำไปสู่การตั้งภาคีต่อพระองค์ มัจญมัวะฟะตาว่า วะมะกอลาตมุตะเนาวะอะฮ เล่ม 7
หาฟิซอิบนุหะญัร ได้กล่าวว่า
وَقَدْ بَيَّنَ الزُّبَيْرُ بْنُ بَكَّارٍ فِي الْأَنْسَابِ صِفَةَ مَا دَعَا بِهِ الْعَبَّاسُ فِي هَذِهِ الْوَاقِعَةِ وَالْوَقْتَ الَّذِي وَقَعَ فِيهِ ذَلِكَ ، فَأَخْرَجَ بِإِسْنَادٍ لَهُ أَنَّ الْعَبَّاسَ لَمَّا اسْتَسْقَى بِهِ عُمَرُ قَالَ : اللَّهُمَّ إِنَّهُ لَمْ يَنْزِلْ بَلَاءٌ إِلَّا بِذَنْبٍ ، وَلَمْ يُكْشَفْ إِلَّا بِتَوْبَةٍ ، وَقَدْ تَوَجَّهَ الْقَوْمُ بِي إِلَيْكَ لِمَكَانِي مِنْ نَبِيِّكَ ، وَهَذِهِ أَيْدِينَا إِلَيْكَ بِالذُّنُوبِ وَنَوَاصِينَا إِلَيْكَ بِالتَّوْبَةِ فَاسْقِنَا الْغَيْثَ . فَأَرْخَتِ السَّمَاءُ مِثْلَ الْجِبَالِ حَتَّى أَخْصَبَتِ الْأَرْضَ ، وَعَاشَ النَّاسُ
และอัซซุเบร บิน บะกัร ได้อธิบาย สิ่งที่อัลอับบาสทำการดุอาด้วยมัน ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ ใน อัลอัลสาบ และ(ได้อธิบาย)เวลาที่ดังกล่าวได้เกิดขึ้นในมัน ,แล้วเขาได้บันทึกด้วยสายรายงานของเขาว่า แท้จริงอัลอับบัส เมื่ออุมัร ได้ขอฝนโดยผ่านเขา เขากล่าวว่า โอ้อัลลอฮ บะลาจะไม่ลงมา นอกจากด้วยสาเหตุของบาป และมันจะไม่ถูกให้หายได้ นอกจากด้วยการเตาบัต และแท้จริง กลุ่มชน ได้ขอความช่วยเหลือต่อพระองค์โดยผ่านข้าพระองค์ เนื่องด้วย ฐานะของข้าพระองค์ จาก(การที่เป็นญาต)นบีของพระองค์ท่าน และนี้คือ สองมือของเรา ยื่นไปยังพระองค์ท่าน ด้วยบาป และ หน้าผากของเราหันไปยังพระองค์ท่าน ด้วยการเตาบัต ได้โปรดประทานน้ำฝนแก่เราด้วยเถิด ทันใดนั้น ฟากฟ้าได้ ปรากฏก้อนเมฆ ดุจดังภูเขา จนกระทั่งมันทำให้พื้นดินชุ่มช่ำ และประชาชนกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ดู ฟัตหุ้ลบารีย์ เล่ม 3 หน้า 150 กิตาบุลอิสติสกออฺ อธิบายหะดิษหมายเลข 967
.............
หะดิษข้างต้น เป็นการยืนยันว่า ท่านเคาะลิฟะฮอุมัร ขอฝนโดยผ่านดุอาของ อัลอับบาส ลุงของนบี ไม่ใช่ด้วยตัวตนของท่าน _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
|