ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป |
ผู้ส่ง |
ข้อความ |
fai_sol มือใหม่
เข้าร่วมเมื่อ: 12/11/2012 ตอบ: 24
|
ตอบ: Tue Nov 13, 2012 9:22 pm ชื่อกระทู้: การยกมือในคุตบะฮ์ |
|
|
การยกมือดุอาในคุตบะฮ์ มีฮาดิษไหม สามารถกระทำได้ไหมครับ ญะซากัลลอฮุคอยรอน |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Sun Nov 18, 2012 9:32 pm ชื่อกระทู้: Re: การยกมือในคุตบะฮ์ |
|
|
fai_sol บันทึก: | การยกมือดุอาในคุตบะฮ์ มีฮาดิษไหม สามารถกระทำได้ไหมครับ ญะซากัลลอฮุคอยรอน |
การยกมือขอดุอาในขณะอ่านคุตบะฮ
حكم رفع اليدين في التأمين على دعاء الإمام في خطبة الجمعة، أي رفع اليدين للمأموم بالتأمين لأنَّ المشاهد أنَّ كثيراً من الأخوة المصلِّين حينما يدعو خطيب الجمعة في آخر الخطبة لا يرفعون أيديهم، فهل في هذا نصٌّ بارك الله فيكم ؟
การยกมือทั้งสอง กล่าวอามีน รับดุอาของอิหม่ามในการอ่านคุตบะฮญุมอัต กล่าวคือ การยกมือทั้งสองสำหรับมะอฺมูมนั้นมีหุกุมว่าอย่างไร เพราะว่ามีผู้พี่น้องที่ละหมาดจำนวนมาก เมื่อเคาะฏิบอ่านดุอาในช่วงท้ายของคุตบะฮ พวกเขาไม่ยกมือทั้งสองของพวกเขา แล้วมีหลักฐานในเรื่องนี้ไหม ? ขออัลลอฮโปรดประทานความจำเริญแก่ท่าน
الفتوى :
رفع اليدين عند الدعاءِ من أسباب الإجابة، ولكنَّه يُشرع مطلقاً ومقيَّداً، فُيشرع مطلقاً في الدعاء المطلق، ويُشرع مقيَّداً في ما ورد له دليل من أنواع الدعاء المقيَّد، ومعنى ذلك أنَّه لا يُشرع رفع اليدين في كل دعاءٍ مقيَّد كالدعاءِ في آخر الصَّلاة قبل السَّلام أو بعد السَّلام، إذ لم يرد في السنَّة ما يدلُّ على ذلك، وإنَّما يُشرع رفع اليدين فيما دلَّت السنَّة على مشروعيِّة ذلك فيه كالدعاء بعد رمي الجمرة الأولى والثانية، وعلى الصفا والمروة وفي الاستسقاء وغير ذلك ممادلَّت السنَّة على رفع اليدين فيه، وعلى هذا فلا يُشرع للمأمومين أن يرفعوا أيديهم عند دعاء الخطيب على المنبر يوم الجمعة.
وقد أخرج مسلم رحمه الله عن عمارة بن رؤيبة أنَّه رأى بشر بن مروان رافعاً يديه على المنبر فقال: قبَّح الله هاتين اليدين، لقد رأيت رسول الله ـ صلَّى الله عليه وسلم ـ ما يزيد على أن يقول بيده هكذا: وأشار بأصبعه المسبِّحة. قال النووي: فيه أنَّ السنَّة ألا يرفع اليد في الخطبة
والله أعلم
ตอบ
การยกมือทั้งสองขณะขอดุอานั้นเป็นส่วนหนึ่งจากสาเหตุที่ทำให้ดุอาถูกรับ แต่ว่า มันได้ถูกบัญญัติเอาไว้ในรูปแบบกว้างๆและ บัญญัติเอาไว้โดยเฉพาะ โดย มันถูกบัญญัติไว้กว้างๆ ในดุอาที่ถูกกล่าวเอาไว้กว้างๆ และมันถูกบัญญัติเอาไว้เป็นการเฉพาะ ในสิ่งที่ปรากฏหลักฐาน จากบรรดาประเภทดุอาที่ถูกกล่าวไว้เป็นการเฉพาะ และความหมายดังกล่าวคือ จะไม่ถูกบัญญัติใช้ให้ยกมือทั้งสองในทุกๆดุอา ตัวอย่าง เช่น ดุอาช่วงท้ายของละหมาดก่อนกล่าวสลาม หรือ ดุอาหลังจากกล่าวสลาม ทั้งนี้เพราะไม่ปรากฏในอัสสุนนะฮ แสดงบอกให้กระทำดังกล่าว และ แท้จริงมีบัญญัติใช้ให้ยกมือทั้งสอง ในสิ่งที่อัสสุนนะฮแสดงบอก มีบัญญัติให้กระทำ และเพราะเหตุนี้ จึงไม่มีบัญญัติใช้ให้บรรดามะอฺมูม ยกมือทั้งสองของพวกเขา ขณะที่คอฏิบอ่านดุอาอยู่บนมิมบัร ในวันศุกร์ และแท้จริงอิหม่ามมุสลิม(ขออัลลอฮเมตตต่อท่าน)ได้บันทึกหะดิษรายงานจากอุมาเราะฮ บินรุอัยบะฮ ว่า เขาได้เห็น บิชร์ บิน มัรวาน ยกมือของเขาทั้งสอง ขอดุอาอยู่บนมิมบัร เขาจึงกล่าวว่า อัลลอฮ ทรงรังเกียจสองมือนี้ ความจริงฉันเห็นรซูลลุลลอฮ ไม่ได้เพิ่มเติมมากไปกว่าการกล่าวด้วยมือของท่านแบบนี้ แล้วเขาก็ได้แสดงด้วยนิ้วมือของของเขาที่ใช้นับเวลากล่าวตัสเบียะ ,อิหม่ามนะวาวีย์ กล่าวว่า ในหะดิษนี้ (เป็นหลักฐานแสดงว่า)แท้จริงตามสุนนะฮนั้น ไม่มีการยกมือ ในการอ่านคุตบะฮ - วัลลอฮุอะอฺลัม
http://www.ejabh.com/arabic_article_85092.html _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
sengship มือเก๋า
เข้าร่วมเมื่อ: 10/09/2008 ตอบ: 102
|
ตอบ: Wed Jan 30, 2013 1:17 pm ชื่อกระทู้: |
|
|
พอเราไม่ยก เด๋วคนข้างๆจะสะกิดเอง 555 |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
|