ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป |
ผู้ส่ง |
ข้อความ |
ห้องสมุด อะฮลุ้ลหะดีษ มือเก่า
เข้าร่วมเมื่อ: Jan 31, 2011 ตอบ: 86 ที่อยู่: ห้องสมุด อะฮลิ้ลหะดีษ วัลอาษาร์ เชียงใหม่
|
ตอบ: Thu Feb 09, 2012 12:02 am ชื่อกระทู้: อะชาอิเราะห์ |
|
|
อะชาอิเราะห์ อ้างว่า
قال الإمام الشافعي رضي الله عنه :"المُحدثـات من الأمور ضربان أحدُهما : ما أُحدث مما يُخالفُ كتابـاً أو سُنةً أو أثراً أو إجماعاً ، فهذه البدعة الضـلالة ، والثانيـة : ما أُحدثَ من الخير لا خلاف فيه لواحد من هذا ، وهذه مُحدثةٌ غير مذمومة ". رواه الحافظ البيهقي في كتاب " مناقب الشافعي " ج 1 ص 469. ومَن شاءَ فلينظُر ما ذكرَهُ الحافظ ابن حجر العسقلاني رحمه الله من " أن الاحتفال بالمولد النبوي الشريف بدعةٌ حسنة" ولا تصحُ فتوى من أفتى بأن الاحتفالَ بذكرى المولد بدعةٌ محرمةٌ لما تقدم من الأدلة ومثل ذلك ذكرَ العلماء الذين تُعْتَمَدُ فتواهم كالحافظ ابن دحية والحافظ العراقي والحافظ السخاوي والحافظ السيوطي والشيخ ابن حجر الهيتمي والشيخ محمد بخيت المطيعي مفتي الديار المصرية الأسبق والشيخ مصطفى نجا مفتى بيروت الأسبق وكذلك الشيخ ابن عاشور التونسيّ والشيخ عبد الحميد بن باديس الجزائري ومشائخ العائلة الغماريّة المغاربة.ولا عبرة بِنَعِيق الوهّابيّة الجُفاة فلا يحفل بهم إلاّ الرّعاع وجهلة العوام نسأل الله الأمان
ตกลง บิดอะห์ ที่อิหม่าม ชาฟิอีย์ บอกหมายถึง ทางด้าน ภาษาหรือศาสนา และเราจะตอบว่าไง อ.อะซันช่วยแจ้งหน่อยนะคับ _________________ ห้องสมุด อะฮลุ้ลหะดีษ วัลอาษาร |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Sat Feb 11, 2012 8:38 pm ชื่อกระทู้: Re: อะชาอิเราะห์ |
|
|
ห้องสมุด อะฮลุ้ลหะดีษ บันทึก: | อะชาอิเราะห์ อ้างว่า
قال الإمام الشافعي رضي الله عنه :"المُحدثـات من الأمور ضربان أحدُهما : ما أُحدث مما يُخالفُ كتابـاً أو سُنةً أو أثراً أو إجماعاً ، فهذه البدعة الضـلالة ، والثانيـة : ما أُحدثَ من الخير لا خلاف فيه لواحد من هذا ، وهذه مُحدثةٌ غير مذمومة ". رواه الحافظ البيهقي في كتاب " مناقب الشافعي " ج 1 ص 469. ومَن شاءَ فلينظُر ما ذكرَهُ الحافظ ابن حجر العسقلاني رحمه الله من " أن الاحتفال بالمولد النبوي الشريف بدعةٌ حسنة" ولا تصحُ فتوى من أفتى بأن الاحتفالَ بذكرى المولد بدعةٌ محرمةٌ لما تقدم من الأدلة ومثل ذلك ذكرَ العلماء الذين تُعْتَمَدُ فتواهم كالحافظ ابن دحية والحافظ العراقي والحافظ السخاوي والحافظ السيوطي والشيخ ابن حجر الهيتمي والشيخ محمد بخيت المطيعي مفتي الديار المصرية الأسبق والشيخ مصطفى نجا مفتى بيروت الأسبق وكذلك الشيخ ابن عاشور التونسيّ والشيخ عبد الحميد بن باديس الجزائري ومشائخ العائلة الغماريّة المغاربة.ولا عبرة بِنَعِيق الوهّابيّة الجُفاة فلا يحفل بهم إلاّ الرّعاع وجهلة العوام نسأل الله الأمان
ตกลง บิดอะห์ ที่อิหม่าม ชาฟิอีย์ บอกหมายถึง ทางด้าน ภาษาหรือศาสนา และเราจะตอบว่าไง อ.อะซันช่วยแจ้งหน่อยนะคับ |
อิบนุเราะญับ กล่าวว่า
ومراد الشافعي - رحمه الله - ما ذكرناه مِنْ قبلُ : أنَّ البدعة المذمومة ما ليس لها أصل منَ الشريعة يُرجع إليه ، وهي البدعةُ في إطلاق الشرع ، وأما البدعة المحمودة فما وافق السنة ، يعني : ما كان لها أصلٌ مِنَ السنة يُرجع إليه ، وإنَّما هي بدعةٌ لغةً لا شرعاً ؛ لموافقتها السنة
และจุดประสงค์ของอิหม่ามชาฟิอี (ขออัลอฮเมตตาต่อท่าน) ต่อสิ่งที่เราได้ระบุมันมาก่อนหน้านี้ คือ แท้จริงบิดอะฮ ทีถูกตำหนิ(บิดอะฮมัซมูมะฮ) คือ สิ่งที่ไม่มีรากฐานจากศาสนบัญญัติ ทีจะถูกนำกลับไปหามัน และมันคือ บิดอะฮในความหมายทางศาสนา และสำหรับ บิดอะฮที่ถูกสรรเสริญ นั้น คือ สิ่งที่สอดคล้องกับสุนนะฮ หมายถึง สิ่งที่มีรากฐานมาจากสุนนะฮ ที่จะถูกนำกลับไปหามัน ความจริง มันคือ บิดอะฮในทางภาษา ไม่ใช่บิดอะฮในทางศาสนบัญัติ เพราะมันสอดคล้องกับอัสสุนนะฮ ดู ญามิอุลอุลูม วัลหิกัม หน้า 28
ความจริงแล้วประเด็นนี้ เราต้องพิจารณาดู สุนนะฮของท่านนบี เป็นหลัก ไม่ใช่คำพูดของท่านอิหม่ามชาฟิอี เป็นหลัก
ท่านอิหม่ามชาฟิอีเอง กล่าวว่า
كل مسألة صح فيها الخبر عن رسول الله صلى الله عليه وسلم عند أهل النقل بخلاف ما قلت فأنا راجع عنها في حياتي وبعد موتي
ทุกประเด็นปัญหา ที่มีคำบอกเล่าที่ถูกต้อง(เศาะเฮียะ)ในมัน จากท่านนบี ตามทัศนะของนักรายงานหะดิษ ขัดแย้งกับสิ่งที่ข้าพเจ้าพูด ดังนั้น ข้าพเจ้าเป็นผู้ยกเลิกมัน ในยามที่ข้าพเจ้ามีชีวิตอยู่และหลังจากข้าพเจ้าเสียชีวิตไปแล้ว อบูนะอีม ในอัลหุลลียะฮ เล่ม 9 หน้า 107
ความจริง อิหม่ามชาฟิอีเอง ก็ไม่ปรากฏว่าท่านส่งเสริมทำเมาลิด และไม่ปรากฏในยุคของท่าน ดังนั้นจึงไม่มีประโยชน์ที่จะอ้างคำพูดของท่านอิหม่ามชาฟิอี มาเป็นหลักฐานทำเมาลิด แม้แต่น้อย
ท่าน عبد القيوم بن محمد السحيباني กล่าวไว้ เป็นข้อคิดว่า
لايجوز أن يعارض كلام الرسول صلى الله ﷺ بكلام أحد من الناس , كائنا من كان, فكلام النبي ﷺ حجة على كل احد , وليس كلام أحد من الناس حجة على كلام النبي
ไม่อนุญาตให้นำคำพูดมนุษย์คนใดคนหนึ่งก็ตาม มาขัดแย้งกับคำพูดของรซูลุลลอฮ เพราะคำพูดของนบี เป็นหลักฐานหักล้างคำพูดของทุกคน และไม่ใช่คำพูดมนุษย์คนใดคนหนึ่ง เป็นหลักฐานหักล้างคำพูดของท่านนบี
จากหนังสือ اللمع في الرد على محسِّن البدع หน้า 36
والله أعلم بالصواب
...............
ความจริง คุณ ห้องสมุด อะฮลุ้ลหะดีษ" มีความเชี่ยวชาญ ในหะดิษและภาษาอาหรับมากกว่าผมหลายเท่า น่าจะช่วยผมแปล และตอบปัญหาน่าจะดีกว่านะครับ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
asan ผู้ดูแลกระดานเสวนา
เข้าร่วมเมื่อ: 21/03/2005 ตอบ: 3165
|
ตอบ: Mon Aug 04, 2014 10:04 am ชื่อกระทู้: |
|
|
ท่านอิหม่ามชาฟิอีย์ (สิ้นชีวิตปี ฮ.ศ. 204) ได้กล่าวเอาไว้ว่า ...
اَلْبِدْعَـةُ بِدْعَـتَانِ : بِدْعَـةٌ مَحْمُوْدَةٌ، وَبِدْعَـةٌ مَذْمُوْمَـةٌ، فَمَاوَافَقَ السُّـنَةَ فَهُوَمَحْمُوْدٌ، وَمَاخَالَفَ السُّـنَّةَ فَهُوَ مَذْمُوْمٌ .....
บิดอะฮ์ (สิ่งที่ถูกกระทำขึ้นมาใหม่) จะมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ทั้งดีและชั่ว, หากสิ่งใด (ที่ถูกกระทำขึ้นมาใหม่) สอดคล้องกับซุนนะฮ์ ก็ถือว่า เป็นสิ่งดี, แต่ถ้าหากขัดแย้งกับซุนนะฮ์ ก็เป็นสิ่งที่ชั่ว (ถูกประนาม) ...
(บันทึกโดย ท่านอบู นุอัยม์ ในหนังสือ หิลยะตุ้ล เอาลิยาอ์ เล่มที่ 9 หน้า 113, ท่านอิบนุหะญัรฺ อัล-อัสเกาะลานีย์ ในหนังสือ ฟัตหุ้ล บารีย์ เล่มที่ 13 หน้า 253, และท่านอิบนุรอญับ ในหนังสือ ญามิอุ้ล อุลูม วัล-หิกัม หน้า 291)
อีกประการหนึ่ง ข้างต้น เป็นคำพูดของปราชญ์ท่านหนึ่ง ซึ่งไม่จำเป็นว่าสิ่งนั้นถูกต้องเสมอ
เช็คอับดุลกอ็ยญูม อัสสุหัยบานีย์ได้วิจารณ์คำพูดข้างต้นว่า
أَوَّلاً : لاَيَجُوْزُ أَنْ يُعَارَضَ كَلاَمُ الرَّسُوْلِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ بِكَلاَمِ أَحَدٍ مِنَ النَّاسِ , كَائِنًا مَنْ كَانَ, فَكَلاَمُ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم حُجَّةٌ عَلَى كُلِّ اَحَدٍ , وَلَيْسَ كَلاَمُ أَحَدٍ مِنَ النَّاسِ حُجَّةً عَلَى كَلاَمِ النَّبِيِّ صلى الله عليه وسلم
ประการแรก คือ ไม่อนุญาตให้นำคำพูดมนุษย์คนใดคนหนึ่ง มาขัดแย้งกับคำพูดของรซูลุลลอฮ เพราะคำพูดของนบี ศอ็ลฯ นั้น คือ หลักฐานหักล้างคำพูดของทุกคน และไม่ใช่คำพูดมนุษย์คนใดคนหนึ่ง เป็นหลักฐานหักล้างคำพูดของท่านนบี ศอ็ล
แล้วท่านได้อ้างหลักฐานว่า
قال عبد الله بن عباس رضي الله عنه : ليس أحد إلا و يؤخذ من رأيه ويترك , ما خلا النبي
อับดุลลอฮ บิน อับบาส (ร.ฎ)กล่าวว่า ไม่มีคนใด นอกจะถูกเอามาจากความเห็นของเขา และถูกทิ้ง ยกเว้นคำพูดนบี
- ดู อัลลุมาอฺ ฟี รอด อะลามุหสินิลบิดอิ หน้า ๓๖
............................
คำพูดของท่านนบีคือ
ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า :
((وإياكم ومحدثات الأمور فإن كل محدثة بدعة وكل بدعة ضلالة))
[ رواه أبوداود : 3607 والترمذي : 2676]
ความว่า : และพวกเจ้าจงระวังสิ่งใหม่ในศาสนา เพราะว่าทุกๆบิดอะฮฺนั้นคือความหลงผิด
(รางานโดย อะบูดาวุด: 4607 และติรมีซีย์ : 2676)
และอีหม่ามชาฟิอี ก็ได้สอนไว้ว่า
ท่านอิหม่ามชาฟิอีเอง กล่าวว่า
كل مسألة صح فيها الخبر عن رسول الله صلى الله عليه وسلم عند أهل النقل بخلاف ما قلت فأنا راجع عنها في حياتي وبعد موتي
ทุกประเด็นปัญหา ที่มีคำบอกเล่าที่ถูกต้อง(เศาะเฮียะ)ในมัน จากท่านนบี ตามทัศนะของนักรายงานหะดิษ ขัดแย้งกับสิ่งที่ข้าพเจ้าพูด ดังนั้น ข้าพเจ้าเป็นผู้ยกเลิกมัน ในยามที่ข้าพเจ้ามีชีวิตอยู่และหลังจากข้าพเจ้าเสียชีวิตไปแล้ว อบูนะอีม ในอัลหุลลียะฮ เล่ม 9 หน้า 107
................
เพราะฉะนั้น การนำคำพูดของอิหม่ามชาฟิอีมาอ้าง ต้องพิจารณาหลักการโดยรวมของมัซอับชาฟิอีด้วยว่าท่านสอนว่าอย่างไร และพิจารณาด้วยว่า ระหว่างคำพูดมนุษย์ ที่มีผิด มีถูก นั้น ขัดแย้งกับคำพูดนบีหรือไม่ _________________ จะยืนหยัดอยู่บนความจริง แม้ว่าจะขมขื่นเพียงใดก็ตาม |
|
กลับไปข้างบน |
|
|
|