ยินดีต้อนรับสู่ Moradokislam.org!
Homeหน้าแรก     Forumsกระดานข่าว     Your Accountสำหรับสมาชิก     Downloadsดาวน์โหลด     Submit Newsเผยแพร่ข่าวสาร     Topicsหัวข้อเรื่อง     Select Thai LangaugeThai Langauge   
ขอเชิญร่วมสร้างมัสยิด
มูลนิธิอนุรักษ์มรดกอิสลาม
ขอเชิญท่านบริจาคสมทบทุน
โครงการก่อสร้างอาคาร
มัสยิดอนุรักษ์



โดยโอนเงินผ่านบัญชีธนาคาร

ชื่อบัญชี
มูลนิธิอนุรักษ์มรดกอิสลาม
ธนาคาร
กรุงไทย สาขาย่อยประเวศ
ประเภท กระแสรายวัน
เลขที่ 188 – 6 – 00316 – 5

>>>..ร่วมบริจาคคลิ๊ก!..<<<

ญะซากุมุ้ลลอฮุคอยร็อน


เมนูหลัก
 หน้าแรก(ข่าวสาร) :
 หน้าแรก
 ค้นหา
 หัวข้อเรื่องที่น่าสนใจ
 สำหรับสมาชิก :
 รายนามสมาชิก
 เข้าสู่ระบบ(สมัครสมาชิก!)
 ร่วมด้วยช่วยกัน :
 แนะนำบอกต่อ
 กระดานเสวนา
 
 สถิติของผู้เข้าชม :
 ยอดฮิตติดอันดับ
 แบบสำรวจ
 คู่มือและเอกสาร :
 ถาม-ตอบ
 วารสารประจำเวบ
 บริการอื่นๆ :
 ติดต่อลงโฆษณา
 ติดต่อเรา
 ห้องแสดงภาพ
 ดาวน์โหลด
 Mozaks_News

 เมนูทั่วไป :
เนตคุณแรงแค่ไหน!
ล้อเลียนการเมือง
เพิ่มเว็บนี้ใน Favourites !
เมล์ด่วนสายตรง
22:17:44
วัน : 29-03-2024
GMT : +0700

สาระวิชาการ
วิชาการ :
ศรัทธาและยึดมั่น
อัลฮะดีษ
จริยธรรมอิสลาม
ประเพณีและความเชื่อ
ประวัติศาสตร์อิสลาม
เหตุแห่งการประทานอัลกุรอาน
อุลูมุ้ลฮะดีษ
ตัฟซีรอัลกุรอาน
คอลัมน์ประจำ :
บทความทั่วไป
ตรรกวิทยา

ดาวน์โหลด

  1: ถาม-ตอบ
ดาวน์โหลด 297 ครั้ง

  2: ขุดโคตรชีอะ
ดาวน์โหลด 183 ครั้ง

  3: การทำแทน
ดาวน์โหลด 108 ครั้ง

  4: ศรัทธาแบบอิสลาม
ดาวน์โหลด 207 ครั้ง

  5: สัญญาณวันสิ้นโลก
ดาวน์โหลด 245 ครั้ง

  6: หลักยึดมั่น
ดาวน์โหลด 146 ครั้ง

..ดูทั้งหมด..

เว็บไซต์อนุรักษ์ซุนนะห์

เผยข้อเท็จจริงลัทธิชีอะห์:





แนวร่วมต่อต้านรอฟิเฏาะ

ภาษาอาหรับ

www.d-sunnah.net
www.fnoor.com
www.albrhan.com
www.wylsh.com
www.khominy.com
http://dhr12.com
www.albainah.net
www.ansar.org
www.almanhaj.com
www.almhdi.com

ภาษาอังกฤษ

www.ahlelbayt.com


หนังสือใหม่
ผลงานล่าสุด
ของ อ.ฟารีด เฟ็นดี้


รู้ทันชีอะฮ์



เผยกลลวงของชีอะห์ในการดึงมุสลิมออกจากอิสลาม
ตอบโต้ข้อกล่าวหา,ใส่ร้าย,ประณามศอฮาบะห์
ติดต่อและสั่งซื้อได้ที่
คุณยะอ์กู๊บ น้อยนงค์เยาว์
084 0004619


ข่าวสาร
หนังสือพิมพ์ไทย :
ไทยรัฐ
เดลินิวส์
กรุงเทพธุรกิจ
ข่าวสด
ผู้จัดการออนไลน์
มติชน
ประชาไทย
ไทยนิวส์
ศูนย์ข่าวอิศรา
หนังสือพิมพ์อาหรับ :
الاهرام
الجمهورية
الوطن
القبس
البيان
الاتحاد
الرأي العام
الشرق الأوسط
السياسة
دار الخليج
ตำราศาสนาภาษาอาหรับ :
almeshkat
almaktba
kribani
sahab
internet radio
จส.100
คลื่นประชาธิปไตย


บทความเรื่อง ฟิร๊อก กลุ่มแนวคิดบิดเบือน
ตอนชีอะห์อิหม่ามสิบสอง

อย่าให้กะลิมะห์ชะฮาดะห์ของผู้ใดมาล่อลวงเรา
อิสลามไม่มีนิกาย
ข้อแตกต่างด้านโครงสร้างศาสนาของซุนนะห์กับชีอะฮ์
อัลกุรอานและฮะดีษตามความเชื่อของชีอะฮ์
อายะห์อัลกุรอานที่ขาดหาย
"อะฮ์ลุ้ลบัยต์" ครอบครัวและวงศ์วานของท่านนบี
ภรรยาของนบีคือ"อะฮ์ลุ้ลบัยต์"
ฮะดีษซะก่อลัยน์ สิ่งหนักทั้งสอง
ใครคือ"อะฮ์ลุ้ลบัยต์" ที่ระบุในซูเราะห์อัลอะห์ซาบ อายะห์ที่ 33
ฮะดีษกิซาอ์
ท่านอาลีและครอบครัว จากซูเราะห์อัซชุอะรออ์ อายะห์ที่ 23
"อิมามะห์"การศรัทธาต่ออิหม่าม
คำสั่งแต่งตั้งอิหม่าม
หลักฐานแต่งตั้งอิหม่าม จากซูเราะห์อัลมาอิดะห์ อายะห์ 55
อายะห์"อัตตับลีฆ" ซูเราะห์อัลมาอิดะห์ อายะห์ 67
มุบาฮะละห์
ฮะดีษ "มันซีละห์" เปรียบท่านนบีกับอาลีดั่งมูซากับฮารูณ
ละครฉากนี้ที่ "ฆ่อดีรคุม"
คำตอบจากท่านอาลี
อาลีช่วยด้วย !!
อาลี หรือ เยซู
นครแห่งความรู้
ฮุเซนมาจากฉันและฉันก็มาจากฮุเซน
ศอฮาบะห์ในมุมมองของชีอะห์
"อัศฮาบีย์" ประชาชาติของฉัน
ชีอะห์ใส่ร้ายศอฮาบะห์ว่าเป็นมุนาฟิก
พฤหัสบดีวิปโยค
จุดยืนของท่านอาลีที่มีต่อท่านอบูบักร์และท่านอุมัร
เมื่อท่านอาลีประณามและสาปแช่งชีอะฮ์

รายงานความคืบหน้าการนัดสนทนาระหว่างซุนนะห์กับชีอะฮ์


Moradokislam.org: วารสารสมาชิก


วารสารสมาชิก
[ ไดเรคทอรีวารสาร | สมัครสมาชิกใหม่ ]

สมาชิกของไซต์สามารถสร้างวารสารของคุณเอง และส่งข้อคิดเห็นได้ โดยอัตโนมัติ


Confused.gif
การทำบุญกุโบร์
โดย: d.j.ann
ติดประกาศ: 05-23-2012 @ 12:26 am

بِسْمِ اللهِ الرَّحْمَنِ الرَّحِيْم اَلْحَمْدُ للهِ رَبِّ الْعَالَمِيْنَ وَ الصَّلاَةُ وَالسَّلاَمُ عَلىَ سَيِّدِنَا مُحَمَّدٍ وَعَليَ آلِهِ وَصَحْبِهِ أَجْمَعِيْنَ ،،، وَبعْدُ ؛ การทำบุกุโบร์นั้น เป็นภาษาที่คนบ้านเราเรียกกัน แต่ความจริงแล้วมันคือการอ่านอัลกุรอาน, ซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร ,เพื่อขอดุอาและฮาดียะฮ์ผลบุให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง ซึ่งจะอ่านที่บ้านก็ได้ จะอ่านที่กุบูรก็ได้ แต่ที่ได้รวมตัวมาทำที่กุโบร์ ก็เพราะว่าให้ได้คุณค่าและเป้าหมายของการเยี่ยมเยียนกุโบร์ด้วย นั้นก็คือการรำลึกถึงความตายดั่งที่ท่านนบี(ซ.ล.) ได้เคยกล่าวไว้ว่า " كُنْت نَهَيْتُكُمْ عَنْ زِيَارَةِ الْقُبُورِ فَزُورُوهَا ، فَإِنَّهَا تُذَكِّرُكُمْ بالْآخِرَة " رواه أحمد ومسلم وأصحاب السنن عن عبد الله بن بريدة عن أبيه. ความว่า ฉันเคยห้ามพวกท่านจากการเยี่ยม(ซียาเราะห์) กุโบร์ ดั่งนั้น( จากนี้เป็นต้นไป)พวกเจ้าทั้งหลายจงไปเยี่ยมกุโบร์เถิด เพราะว่ามันจะช่วยให้พวกเจ้ารำลึกถึง อาคีเราะห์(โลกหน้า) ดั่งนั้น ชื่อที่เรียกกันตามภาษาบ้านๆ ว่า ทำบุกุโบร์ แม้ว่าชื่อนี้ไม่คุ้นเคยในยุคนบี และซอฮาบะห์ แต่ความจริงแล้วมันคือการอ่านอัลกุรอาน, ซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร ,เพื่อขอดุอาและฮาดียะฮ์ผลบุให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วนั่นเอง เพราะว่าการตัดสินในแต่ละเรื่องนั้น เขาตัดสินกันที่ ตัวงาน หรือกิจกรรมในงาน ไม่ได้ตัดสินกันที่ชื่อ เช่นน้ำผลไม้ ถึงไครจะเปลี่ยนชื่อเรียกว่า เหล้า ก็ไม่หาราม และเหล้าถึงใครจะเปลี่ยนชื่อเรียกว่า น้ำผลไม้ ก็ยังหารามอยู่เหมือนเดิม การอ่านอัลกุรอาน, ซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร ,เพื่อขอดุอาและฮาดียะฮ์ผลบุให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว (หรือที่เรียกกันว่า ทำบุกุโบร์) เป็นปัหาที่อุละมะอ์มีความเห็นแตกต่างกัน แต่ส่วนมากของบรรดาอุละมะอ์(ยุมฮูรุนอุละมะอ์) อนุาตให้กระทำได้ และนับว่าเป็นเรื่องที่ดีด้วยหลักฐาน และจุดยืนดั่งต่อไปนี้ 1 อัลเลาะฮ์ทรงตรัสว่า أُذْكُرُوْا اللهَ ذِكْراً كَثِيْرا ً "พวกเจ้าจงซิกรุลลอฮ์(รำลึกพระองค์)ให้มาก ๆ เถิด" อัลอะห์ซาบ 41 ท่านอิมามมุสลิม ได้รายงานว่า ได้เล่าให้เราทราบ โดยมุหัมมัด บิน หาติม บิน มัยมูน ได้เล่าให้เราทราบ โดยบะฮฺซฺ ได้กล่าวแก่เราโดยวุฮัยบฺ ได้เล่าแก่เราโดยซุฮัยล์ จากบิดาของเขา จากท่านอบูฮุรอยเราะฮ์ ซึ่งได้เล่าจากท่านนบี(ซ.ล.) ท่านกล่าวว่า ‏إِنَّ لِلَّهِ تَبَارَكَ وَتَعَالَى مَلَائِكَةً سَيَّارَةً ‏ ‏فُضُلًا ‏ ‏يَتَتَبَّعُونَ ‏ ‏مَجَالِسَ الذِّكْرِ فَإِذَا وَجَدُوا مَجْلِسًا فِيهِ ذِكْرٌ قَعَدُوا مَعَهُمْ وَحَفَّ بَعْضُهُمْ بَعْضًا بِأَجْنِحَتِهِمْ حَتَّى يَمْلَئُوا مَا بَيْنَهُمْ وَبَيْنَ السَّمَاءِ الدُّنْيَا فَإِذَا تَفَرَّقُوا عَرَجُوا وَصَعِدُوا إِلَى السَّمَاءِ قَالَ فَيَسْأَلُهُمْ اللَّهُ عَزَّ وَجَلَّ وَهُوَ أَعْلَمُ بِهِمْ مِنْ أَيْنَ جِئْتُمْ فَيَقُولُونَ جِئْنَا مِنْ عِنْدِ عِبَادٍ لَكَ فِي الْأَرْضِ يُسَبِّحُونَكَ وَيُكَبِّرُونَكَ وَيُهَلِّلُونَكَ وَيَحْمَدُونَكَ وَيَسْأَلُونَكَ قَالَ وَمَاذَا يَسْأَلُونِي قَالُوا يَسْأَلُونَكَ جَنَّتَكَ قَالَ وَهَلْ رَأَوْا جَنَّتِي قَالُوا لَا أَيْ رَبِّ قَالَ فَكَيْفَ لَوْ رَأَوْا جَنَّتِي قَالُوا ‏ ‏وَيَسْتَجِيرُونَكَ ‏ ‏قَالَ وَمِمَّ ‏ ‏يَسْتَجِيرُونَنِي ‏ ‏قَالُوا مِنْ نَارِكَ يَا رَبِّ قَالَ وَهَلْ رَأَوْا نَارِي قَالُوا لَا قَالَ فَكَيْفَ لَوْ رَأَوْا نَارِي قَالُوا وَيَسْتَغْفِرُونَكَ قَالَ فَيَقُولُ قَدْ غَفَرْتُ لَهُمْ فَأَعْطَيْتُهُمْ مَا سَأَلُوا ‏ ‏وَأَجَرْتُهُمْ ‏ ‏مِمَّا ‏ ‏اسْتَجَارُوا ‏ ‏قَالَ فَيَقُولُونَ رَبِّ فِيهِمْ فُلَانٌ عَبْدٌ خَطَّاءٌ إِنَّمَا مَرَّ فَجَلَسَ مَعَهُمْ قَالَ فَيَقُولُ وَلَهُ غَفَرْتُ هُمْ الْقَوْمُ لَا يَشْقَى بِهِمْ جَلِيسُهُمْ "แท้จริง อัลเลาะฮ์(ตะบาร่อกะวะตะอาลา) ทรงมีบรรดามะลาอิกะฮ์ที่ท่องไปในผืนแผ่นเดิน เป็นมะลาอิกะฮ์ที่เพิ่มขึ้นมา(นอกเหนือจากบรรดามะลาอิกะฮ์หะฟะเซฺาะฮ์ที่ทำ หน้าที่ปกปักษ์รักษา) ได้ทำการสืบเสาะแสวงหา สถานที่ต่าง ๆ ที่มีการซิกิร ดังนั้น เมื่อพวกเขาได้เจอสถานที่หนึ่ง ที่มีการซิกิร พวกเขาก็จะนั่งร่วมพร้อมกับพวกเขา (คือบรรดาผู้ที่ทำการซิกรุลเลาะฮ์) และบรรดามะลาอิกะฮ์ต่างทำการห้อมล้อมด้วยปีกของพวกเขา จนกระทั้งพวกเขาเต็ม(เพิ่มขึ้น)ในระหว่างพวกเขาและถึงท้องฟ้า ดังนั้น เมื่อบรรดาผู้ทำการซิกรุลเลาะฮ์ได้แยกย้าย บรรดามะลาอิกะฮ์จึงเดินทางขึ้นสู่ฟ้ากฟ้า" ท่านนบี(ซ.ล.) ได้กล่าวว่า"แล้วอัลเลาะฮ์ได้ถามพวกเขา- โดยที่พระองค์ทรงรู้ดียิ่งเกี่ยวกับพวกเขา- ว่า พวกเจ้ามาจากใหนกัน? บรรดามะลาอิกะฮ์กล่าวว่า เราได้มาจาก ณ ที่บรรดาบ่าวของพระองค์ ที่อยู่ในผืนแผ่นดิน ซึ่งที่พวกเขาได้ทำการกล่าวตัสบีหฺ(กล่าวซุบหานัลเลาะฮ์) กล่าวตักบีร(อัลเลาะฮ์อักบัร) กล่าวตะฮ์ลีล(ลาอิลาฮ่าอิลลัลลอฮ์) กล่าวตะหฺมีด(อัลหัมดุลิลลาฮ์) และทำการวอนขอต่อพระองค์" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามว่า"แล้วอะไรที่พวกเขาได้วอนขอกับข้า? " บรรดามะลาอิกะฮ์ตอบว่า"พวกเขาได้ขอพระองค์ สรวงสวรรค์ของพระองค์" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามว่า"แล้วพวกเขาเคยเห็นสรวงสวรรค์ของข้าหรือไม่ล่ะ?" มะลาอิกะฮ์ตอบว่า ไม่เคย โอ้ผู้อภิบาลแห่งเรา! " อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามต่อว่า "แล้วอย่างไรเล่า หากพวกเขาได้เห็นสรวงสวรรค์ของข้า?" มะลาอิกะฮ์กล่าวว่า"และพวกเขาก็ทำการขอความคุ้มครองกับพระองค์" พระองค์ทรงตรัสถามว่า"พวกเขาขอความคุ้มครองข้าจากอะไร? มะลาอิกะฮ์กล่าวว่า"จากไฟนรกของพระองค์ โอ้ผู้อภิบาลแห่งเรา!" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามว่า"แล้วพวกเขาเคยเห็นไฟนรกของข้าหรือไม่ล่ะ?" มะลาอิกะฮ์ตอบว่า ไม่เคย" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสถามต่อว่า "แล้วอย่างไรเล่า หากพวกเขาได้เห็นไฟนรกของข้า?" มะลาอิกะฮ์ตอบว่า"พวกเขาได้ทำการอิสติฆฟารต่อพระองค์" อัลเลาะฮ์ทรงตรัสว่า"ข้าได้อภัยแก่พวกเขาแล้ว และข้าได้ให้สิ่งที่พวกเขาได้ขอ และจะปกป้องสิ่งที่พวกเขาได้ขอความคุ้มครอง" ท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวว่า"แล้วมะลาอิกะฮ์ได้กล่าวว่า โอ้ผู้อภิบาลแห่งเรา ในพวกเขา(ที่ทำการซิกิรุลเลาะฮ์)นั้น มีคนหนึ่งที่เป็นบ่าวผู้กระทำผิด โดยที่เขาได้เดินผ่านมา แล้วก็นั่งร่วมกับพวกเขา" ท่านนบี(ซ.ล.)กล่าวต่อว่า"แล้วพระองค์ทรงตรัสว่า ข้าอภัยให้แก่เขาแล้ว โดยที่บรรดาพวกที่ทำการซิกิรนั้น ผู้ที่นั่งร่วมด้วยก็จะไม่อับโชคด้วยเหตุพวกเขา(ที่ทำการนั่งซิกิร) " ซอฮิหฺมุสลิม (2689) บรรดาตัวบทอัลกุรอานและฮะดีษนี้ ได้ระบุให้ทำการซิกรุลลอฮ์ในรูปแบบกว้าง ๆ (มุฏลัก) หรือแบบครอบคลุม (อาม) โดยไม่มีหลักฐานใดมาจำกัด(มุก็อยยัด)หรือมาทอนความหมาย(ค็อซ) ว่าห้ามหรือมักโระฮ์ในการซิกรุลลอฮ์และขอดุอาต่ออัลเลาะฮ์ที่กุบูรหรืออื่นจากกุบูร เช่น ซิกรุลลอฮ์ที่บ้านหรือซิกรุลลอฮ์หลังละหมาด เป็นต้น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องทำให้ตัวบทยังคงมีข้อบ่งชี้แบบกว้าง ๆ หรือมีความหมายแบบครอบคลุมอยู่เช่นนั้นและทำการปฏิบัติตามนัยยะของหลักฐานแบบกว้าง ๆ หรือแบบครอบคลุมดังกล่าว โดยไม่ขัดกับหลักการของศาสนา จนกว่าจะมีหลักฐานมาระบุเจาะจงในการห้ามซิกรุลลอฮ์ในสถานที่นั้น ๆ หรือห้ามซิกรุลลอฮ์อย่างนั้นอย่างนี้ เช่นไม่ควรซิกรุลลอฮ์ในห้องส้วม , ซิกรุลลอฮ์แทนอัลฟาติฮะฮ์ขณะที่มีความสามารถ เพราะไปขัดกับหลักการเดิม 2 ท่านอิมามอันนะวาวีย์ ได้กล่าวไว้ในหนังสือ อัลอัซการ ของท่านว่า وَرَوَيْنَا فِى سُنَنِ الْبَيْهَقِىِّ بِإِسْنَادٍ حَسَنٍ أَنَّ إبْنَ عُمَرَ إِسْتَحَبَّ اَنْ يُقْرَأَ عَلىَ الْقَبْرِ بَعْدَ الدَّفْنِ أَوَّلَ سُوْرَةِ البَقَرَةِ وَخَاتِمَتَهَا " เราได้รายงานไว้ใน สุนันอัลบัยฮะกีย์ ด้วยสายรายงานที่หะซันว่า แท้จริง ท่านอิบนุอุมัรนั้น ชอบที่จะให้อ่านอัลกุรอานในช่วงแรกของซูเราะฮ์อัลบะกอเราะฮ์ และช่วงท้ายของมันที่กุบูรหลังจากเสร็จสิ้นการฝังแล้ว" อัลฟุตูฮาด อัรร๊อบบานียะฮ์ อะลา อัลอัซการอันนะวะวียะฮ์ เล่ม 4 หน้า 194 การตัดสินฮะดีษของท่านอิมามอันนะวาวีย์ ถือว่าเป็นเพียงพอแล้วสำหรับผู้ที่ต้องการปฏิบัติคุณค่าของอะมัลนี้ ดั่งนั้นการซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร , ก็อยู่ในรูปแบบเดียวกับการอ่านอัลกุรอ่านเช่นกัน ความเห็นของบรรดาอุละมะอ์ต่อการอ่านอัลกุรอาน,ซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร ,ที่กุโบร์ 1 ท่านอิมามอัชชาฟิอีย์ได้กล่าวว่า وَأُحِبُّ لَوْ قُرِئَ عِنْدَ الْقَبْرِ، وَدُعِيَ لِلْمَيِّتِ وَلَيْسَ فِي ذَلِكَ دُعَاءٌ مُؤَقَّتٌ "ฉันรัก หากมีการอ่านอัลกุรอานที่กุบูร และมีการขอดุอาอ์ให้แก่มัยยิด(ผู้ตาย) และในสิ่งดังกล่าวนั้น ไม่มีการขอดุอาอ์(แก่มัยยิด)ได้ถูกกำหนดเวลาเอาไว้ตายตัว(คือขอดุอาให้ผู้ ตายได้ทุกเวลา)" หนังสืออัลอุมมฺ 1/282 ท่านอิมาม อันนะวาวีย์ ได้กล่าวอธิบายไว้ในหนังสือ อัล-มัจฺมั๊วะ ของท่านว่า يُسْتَحَبُّ لِزَائِرِ القُبُوْرِ أَنْ يَقْرَأَ مَا تَيَسَّرَ مِنَ القُرْآنِ وَيَدْعُوْ لَهُمْ عَقِبَهَا نَصَّ عَلَيْهِ الشَّافِعِيُّ وَاتَّفَقَ عَلَيْهِ الأَصْحَابُ وَزَادَ فِيْ مَوْضِعٍ آخَرَ: وَإِنْ خَتَمُوْا القُرْآنَ عَلَى القَبْرِ كَانَ أَفْضَلَ "และสุนัตให้ผู้ไปเยี่ยมกุ บูร ทำการอ่านสิ่งที่ง่าย ๆ จากอัลกุรอานและทำการขอดุอาอ์ให้แก่เขาหลังจากเสร็จสิ้นการอ่าน ซึ่งอิมามอัช-ชาฟิอีย์ได้ระบุมันไว้(ในหนังสืออุมมฺ) และบรรดาสานุศิษย์ก็มีความเห็นพร้องกันต้องกันและอิมามอัชชาฟิอีย์ได้กล่าว เพิ่มในตำราเล่มอื่นอีกว่า หากพวกเขาได้อ่านจบหนึ่งจบที่กุบูร ก็จะเป็นการดียิ่ง" ดู เล่ม 5 หน้า 276 ท่าน อัซฺซะฮะบีย์ ได้กล่าวประวัติของท่าน อบูะฟัร อัลฮาชิมีย์ อัลหัมบาลีย์ ชัยค์(ปรมาจารย์)มัซฮับอัลหะนาบิละฮ์ (เสียชีวิตปี 470) ว่า وَدُفِنَ إِلَي جَانِبِ قَبْرِ الإِمَامِ أَحْمَدَ ، وَلَزِمَ النّاسُ قَبْرَهُ مُدَّةً حَتَّي قِيْلَ خُتِمَ عَلَي قَبْرِهِ عَشَرةُ آلاَفِ خَتْمَةٍ " และเขาได้ถูกฝังเคียงข้างกุบูรของท่านอิมามอะหฺมัด , และบรรดาผู้คนได้ประจำอยู่ที่กุบูรของเขาเป็นระยะเวลาหนึ่ง จนกระทั่งกล่าวกันว่า อัลกุรอานได้ถูกอ่านจบ ที่กุบูรของเขา ถึง 10000 (หนึ่งหมื่น) จบด้วยกัน" ดู หนังสือ ซิยัร อะลาม อัลนะบะลาอ์ เล่ม 18 หน้า 547 2 ท่านอิบนุกุดามะฮ์กล่าวอีกว่า وَأَنَّهُ إِجْمَاعُ الْمُسْلِمِيْنَ ; فَإِنَّهُمْ فِيْ كُلِّ عَصْرٍ وَمِصْرٍ يَجْتَمِعُوْنَ وَيَقْرَءُوْنَ القُرْآنَ , وَيَهْدُوْنَ ثَوَابَهُ إِلىَ مَوْتَاهُمْ مِنْ غَيْرِ نَكَيْرٍ "แท้จริง มันเป็นมติของบรรดามุสลิมีน เนื่องจากแท้จริง พวกเขาเหล่านั้น ในทุกสมัยและทุกเมือง ได้รวมตัวกัน และทำการอ่านอัลกุรอานกัน และทำการฮาดิยะฮ์ผลบุการอ่านอัลกุรอาน ให้แก่บรรดาผู้ตายของพวกเขา โดยที่ไม่มีผู้ใดมาตำหนิ" หนังสือ อัลมุฆนีย์ เล่ม 3 หน้า373 3 ท่านอิมาม อัลฮาฟิซฺ อัสสะยูฏีย์ กล่าวว่า قَالَ الْقُرْطُبِيُّ فِيْ حَدِيْثِ {اِقْرَؤُوْا عَلَي مَوْتَاكُمْ يَس} هَذَا : يَحْتَمِلُ أَنْ تَكُوْنَ هَذِهِ القِرَاءَةُ عِنْدَ الْمَيِّتِ فِيْ حَالِ مَوْتِهِ ، وَيَحْتَمِلُ أَنْ تَكُوْنَ عِنْدَ قَبْرِهِ . قُلْتُ : وَبِالأَوَّلِ قَالَ الْجُمْهُوْرُ...وَبِالثَّانِي اِبْنُ عَبْدِ الوَاحِدِ الْمُقَدِّسِيُّ...وَبالتَّعْمِيْمِ فِي الْحَالَيْنِ قَالَ الْمُحِبُّ الطَّبَرِيُّ مِنْ مُتَأَخِّرِيْ أَصْحَابِنَا "ท่านอัลกุรตุบีย์ได้กล่าว ในฮะดีษที่ว่า "พวกท่านจงอ่านยาซีนแก่ผู้ตายของพวกท่าน" นี้ ตีความได้ว่าการอ่านนั้น คืออ่าน ณ ที่มัยยิดซึ่งอยู่ในขณะ(ใกล้)ตาย , และตีความได้อีกว่าให้อ่าน ณ ที่กุบูรของเขา . ฉัน(คือท่านอัสสะยูฏีย์)ขอกล่าวว่า : ด้วยทัศนะแรก(อ่านยาซีนขณะผู้ป่วยใกล้ตาย)นั้น เป็นทัศนะของปราช์ส่วนมาก... ส่วนทัศนะที่สอง(อ่านยาซีนที่กุบูรผู้ตาย) เป็นทัศนะของอิบนุอับดุลวาฮิด อัลมุก็อดดิซีย์...ส่วนทัศนะที่ครอบคลุมทั้งสองอย่างเลยนั้น(คืออ่านยาซีนทั้งขณะที่ใกล้เสียชีวิตและมัยยิดเสียชีวิตแล้ว) คือทัศนะของท่าน อัลมุฮิบ อัฏเฏาะบะรีย์ และเหล่าปราช์ในยุคหลัง" หนังสือชัรหุศุดู๊ร 418-419 บทสรุป 1. ไม่มีหลักฐานสักตัวบทเดียวจากอัลกุรอานและซุนนะฮ์มาระบุว่าการอ่านอัลกุรอาน, ซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร ,เพื่อขอดุอาและฮาดียะฮ์ผลบุให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ที่กุบูรเป็นสิ่งฮะรอม จึงไม่มีสะละฟุศศอและห์ท่านใดกล้าฮุกุ่มฟันธงว่าฮะรอม 2. เหล่าปราช์ผู้มีคุณธรรมมากมายให้การยอมรับว่าการอ่านอัลกุรอ่าน ซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร ,เพื่อขอดุอาและฮาดียะฮ์ผลบุให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ที่กุบูรอนุาตให้กระทำได้ 3. การอ้างหลักการที่ว่า "นบีไม่เคยทำ" นั้นเป็นหลักฐานอ้างที่อ่อน ซึ่งปราช์ฟิกห์ผู้ปราดเปรื่องไม่นำมาใช้พิจารณาเรื่องการห้ามอ่านอัลกุรอานซิกรุลเลาะห์ , อิสติฆฟาร ,เพื่อขอดุอาและฮาดียะฮ์ผลบุให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วที่กุบูร 4. การอ่านอัลกุรอานแล้วขอดุอาแก่ผู้ตายนั้น ได้ประโยชน์และผลบุถึงผู้ตายโดยความเห็นพร้องกันของอิมามมัซฮับทั้งสี่ ซึ่งพวกเขาไม่ลงมติบนความลุ่มหลง ดังนั้นจากสิ่งที่ผมได้นำเสนอมาทั้งหมด ไม่มีปราช์สะลัฟคนใดที่ตัดสินว่าการอ่านอัลกุรอานที่กุบูรเป็นสิ่งฮะรอมและไม่วายิบ แต่เป็นสิ่งที่ยาอิซฺ(อนุาต)ให้กระทำได้ ซึ่งไม่บังควรเลยแม้แต่น้อยแก่ผู้ที่มีทัศนะอ่านอัลกุรอานที่กุบูรได้ไปตำหนิผู้ที่ไม่อ่าน และผู้ที่ไม่อ่านอัลกุรอานที่กุบูรก็ไม่ควรเลยที่จะไปตำหนิผู้ที่อ่าน ท่านอบู นุอัยม์ รายงานถึง ท่านอิมาม ซุฟยาน อัษเษารีย์ ท่านกล่าวว่า "เมื่อท่านเห็นบุรุษท่านหนึ่งได้ปฏิบัติอะมัลหนึ่งที่นักปราช์ฟิกห์มีความ เห็นแตกต่างกัน และท่านก็มีทัศนะอีกอย่างหนึ่ง ดังนั้น ท่านจงอย่าไปห้ามเขา " ฮิลยะตุลเอาลิยาอฺ เล่ม 6/367 ท่านอิบนุตัยมียะฮ์กล่าวว่า "แท้จริงบรรดานักปราช์นั้น จะตำหนิในเรื่องที่มีมติให้ทำการตำหนิ แต่สำหรับสิ่งที่ขัดแย้งกันนั้น ย่อมไม่มีการตำหนิแต่ประการใด " มัจะมั๊วะฟะตาวา อิบนุตัยมียะฮ์ 20/225 นี้คือเป็นบางส่วน ของเรื่องราว และหลักฐานการทำบุกุโบร์ ถ้าหากพี่น้องท่านได มีข้อสงสัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ เชิมาพูดคุยกันได้นะครับ ณ. ปอเนาะ บ้านทุ่ง ป่าระไม (ปอเนาะบาบอหวัง) โดย คณะนักศึกษา ปอเนาะบ้านทุ่งป่าระไม 1ม.1ต. ขุนตัดหวาย อ.จะนะ จ.สงขลา 084-9670590


แก้ไขล่าสุดเมื่อ 05-23-2012 @ 12:26 am


เขียนข้อคิดเห็น
เขียนข้อคิดเห็น
อ่านต่อ
อ่านต่อ
ข้อมูลสมาชิก
ข้อมูลสมาชิก
ส่งข่าวสาร
ส่งข่าวสาร
Journal ©







ที่ตั้งมูลนิธิ


สำนักงาน มูลนิธิ อนุรักษ์มรดกอิสลาม
เลขที่ 27/5 หมู่ที่ 2 ถนนเลียบวารี แขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพฯ
ติดต่อ : 02-956-9860, 02-956-9958
E-mail : moradokislam@hotmail.com
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ในการนำไปเผยแพร่ในหนทางที่ถูกต้อง และควรระบุแหล่งที่มาของข้อมูล

PHP-Nuke Copyright © 2005 by Francisco Burzi. This is free software, and you may redistribute it under the GPL. PHP-Nuke comes with absolutely no warranty, for details, see the license.
การสร้างหน้าเอกสาร: 0.12 วินาที
IPBNukeRed theme by HOLBROOKau and
PHP-Nuke Thailand ©2004
เธ‚เธญเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธตเธซเธ™เนˆเธญเธขเธ„เธฃเธฑเธšเธชเธกเธฑเธ„เธฃเธ›เธธเนŠเธšเธฃเธฑเธšเธ›เธฑเนŠเธšเน„เธกเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธเธฒเธ เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เน‚เธšเธ™เธฑเธชเน„เธ”เน‰เน€เธ‡เธดเธ™เธˆเธฃเธดเธ‡ slot938 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธชเธฅเน‡เธญเธ•เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaicasinobin เนเธˆเธเน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เธชเธฅเน‡เธญเธ• เธšเธฒเธ„เธฒเธฃเนˆเธฒ เธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ JQK41 เธชเธฅเน‡เธญเธ• เน€เธ„เธฃเธ”เธดเธ•เธŸเธฃเธต เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ thaibet55 kubet เน„เธ—เธขเธ„เธฒเธชเธดเน‚เธ™เธญเธญเธ™เน„เธฅเธ™เนŒ เนเธ—เธ‡เธšเธญเธฅ เธ‹เธญเธ„เน€เธเธญเธฃเนŒเธฅเธตเธ เธ„เธฐเนเธ™เธ™เธŸเธธเธ•เธšเธญเธฅ เน€เธงเน‡เธšเธžเธ™เธฑเธ™เธญเธฑเธ™เธ”เธฑเธš1 HUC99 เน€เธงเน‡เธšเธ•เธฃเธ‡ เน„เธกเนˆเธœเนˆเธฒเธ™เน€เธญเน€เธขเนˆเธ™เธ•เนŒ